โรงพยาบาลรัตภูมิ องค์กรหลักด้านสุขภาพที่มีมาตรฐานบูรณาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อประชาชนสุขภาพดี
HS4 SOFTWARE
ระบบประเมินมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ
สถานพยาบาล :โรงพยาบาลรัตภูมิ
จังหวัด:สงขลา
เขตบริการสุขภาพที่:12
เอกสารอธิบายเกณฑ์การประเมินด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
ลำดับ | เกณฑ์การประเมิน |
1 | นโยบายการจัดการคุณภาพ |
1.1 | สถานพยาบาลจัดให้มีนโยบายการจัดการคุณภาพและมีการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม |
1.2 | มีการประกาศนโยบายของผู้บริหารสูงสุดที่ให้ความสำคัญแก่การยกระดับคุณภาพบริการเพื่อประชาชนและมีการดำเนินงาน |
1.3 | มีแผนงานและกิจกรรมการมีส่วนร่วมของบุคลากร |
1.4 | มีแผนงานและมีการดำเนินงานที่แสดงถึงคุณภาพบริการและระบบสนับสนุนบริการ |
2 | กระบวนการคุณภาพ |
2.1 | มีแผนงานและมีการดำเนินงานที่แสดงถึงคุณภาพบริการและระบบสนับสนุนบริการ |
2.2 | มีแผนงานและมีการดำเนินงานที่แสดงถึงคุณภาพการบริหารสถานพยาบาล |
3. | ผลลัพธ์ของการจัดการคุณภาพ |
3.1 | มีแผนงานและมีการดำเนินงานเรื่องความพึงพอใจและความมั่นใจของผู้รับบริการและประชาชน |
3.2 | มีแผนงานและมีผลงานที่แสดงถึงความสุขและความพึงพอใจของบุคลากรในสถานพยาบาล |
3.3 | มีแผนงานและมีการดำเนินงานที่แสดงถึงชื่อเสียงของสถานพยาบาล |
ลำดับ | เกณฑ์การประเมิน |
ด้านที่ 2 ด้านการบริการสุขภาพ | |
1. | โรงพยาบาลต้องจัดให้มีผู้ประกอบวิชาชีพหรือผู้ประกอบโรคศิลปะที่ได้มาตรฐานการประกอบวิชาชีพหรือการประกอบโรคศิลปะ ที่สภาวิชาชีพหรือคณะกรรมการวิชาชีพกำหนดหรือประกาศกระทรวงสาธารณสุขกำหนด |
2. | แผนกเวชระเบียน จัดให้มีอุปกรณ์การเก็บเวชระเบียน การเก็บเวชระเบียน และการสำรองข้อมูลตามที่กำหนด |
3. | แผนกผู้ป่วยนอก มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด |
4 | แผนกผู้ป่วยใน จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด |
5 | แผนกผู้ป่วยฉุกเฉิน จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด |
6 | แผนกเภสัชกรรม จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด |
7 | แผนกกายภาพบำบัด จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด |
8 | แผนกเทคนิคการแพทย์ จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด |
9 | แผนกรังสีวิทยา จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด |
10 | แผนกผ่าตัด จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด |
11 | แผนกสูติกรรม จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด |
12 | ระบบรถรับส่งผู้ป่วยฉุกเฉิน ต้องได้รับอนุญาตให้ใช้งานจากสํานักงานตํารวจแห่งชาติ และจัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด |
13 | ระบบควบคุมการติดเชื้อ จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด |
14 | หอผู้ป่วยหนัก จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด |
15 | ห้องให้การรักษา จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด |
16 | ห้องผ่าตัดเล็ก จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด |
17 | ห้องตรวจภายในและขูดมดลูก จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด |
18 | ห้องทารกหลังคลอด จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด |
19 | ห้องทันตกรรม จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด |
20 | ห้องไตเทียม จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด |
21 | ห้องซักฟอก จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด |
22 | ห้องโภชนาการ จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด |
23 | ห้องพักศพที่ให้บริการเก็บศพตั้งแต่ 24 ชั่วโมงขึ้นไป จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด |
24 | ยานพาหนะสำหรับให้บริการนอกโรงพยาบาล ต้องมีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด |
AR | หมวดงานสถาปัตยกรรม
|
1 | แผนพัฒนาและการวางผังโรงพยาบาล |
1.1 | มีแผนแม่บท (แผนพัฒนาและวางผังโรงพยาบาลด้านอาคารและสภาพแวดล้อม) |
1.2 | มีผังบริเวณของโรงพยาบาลที่เป็นปัจจุบัน |
2 | ทางเข้า-ออกของโรงพยาบาล |
โรงพยาบาลของท่านมีถนนทางเข้า-ออกหลัก เข้า-ออกคนละทาง (ตอบข้อ2.2) เข้า-ออกทางเดียวกัน (ตอบข้อ2.3) (หากไม่ประเมินข้อใดให้ไปกำหนดเป็น N/A) | |
2.1 | ทางเข้า-ออกหลักของโรงพยาบาล มีการแบ่งช่องทางสัญจรสำหรับยานพาหนะและผู้สัญจรทางเท้าอย่างชัดเจน |
2.2 | ทางเข้า-ออกหลักของโรงพยาบาล สำหรับช่องทางเดินรถทางเดียว มีความกว้างไม่น้อยกว่า 3.50 เมตร |
2.3 | ทางเข้า-ออกหลักของโรงพยาบาล สำหรับช่องทางเดินรถสองทาง เดินรถสวนกัน มีความกว้างไม่น้อยกว่า 6 เมตร |
3 | ส่วนบริการของโรงพยาบาล |
3.1 | เข้าถึงแผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉินได้สะดวกรวดเร็ว |
3.2 | สะอาดเรียบร้อยปลอดภัยและอำนวยความสะดวก |
3.3 | มีสถานที่ให้บริการเป็นสัดส่วนและได้มาตรฐาน |
3.4 | มีบริเวณพักรอของผู้รับบริการที่เพียงพอ |
3.5 | มีสถานที่เอื้ออำนวยความสะดวกต่อผู้สูงอายุ คนพิการและผู้เสื่อมสมรรถภาพทางกาย |
3.6 | ห้องผ่าตัดเล็ก มีขนาดพื้นที่ห้องผ่าตัดเล็กไม่น้อยกว่า 12 ตารางเมตร โดยส่วนที่แคบสุดไม่น้อยกว่า 3 เมตร |
3.7 | ห้องผ่าตัดเล็ก มีความสูงของห้องผ่าตัดเล็กไม่น้อยกว่า 2.60 เมตร แต่ในกรณีที่ความสูงไม่ถึง 2.60 เมตร มีการตกแต่งทำฝ้าให้ต่ำลงมา ต้องมีความสูงที่วัดจากพื้นห้องถึงฝ้าไม่ต่ำกว่า 2.45 เมตร และมีพัดลมดูดอากาศหรือระบบระบายอากาศที่เหมาะสม |
3.8 | ห้องผ่าตัดใหญ่ มีขนาดพื้นที่ห้องผ่าตัดใหญ่ไม่น้อยกว่า 20 ตารางเมตร และความสูงไม่ต่ำกว่า 3 เมตร |
3.9 | ห้องผ่าตัดใหญ่ มีพื้นที่ใช้สอย (แผนกผ่าตัด) ประกอบด้วย Staff Area, บริเวณรับคนไข้, Transfer Area, บริเวณฟอกมือ เจ้าหน้าที่, Operation Rooms และ Recovery Rooms เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด |
3.1 | การแพทย์ฉุกเฉินและการส่งต่อ มีสถานที่ให้บริการทางการ แพทย์ฉุกเฉินที่ได้มาตรฐาน ตามเกณฑ์ที่กำหนด |
3.11 | จิตเวช มีสถานที่ให้บริการคำนึงถึงความเป็นส่วนตัวและ/หรือ ความปลอดภัย และเอื้อต่อกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพจิตของผู้มารับบริการและผู้ให้บริการ |
3.12 | เวชระเบียน จัดแบ่งเป็นสัดส่วน ไม่เสี่ยงต่ออันตรายจากสัตว์ หรือปัจจัยทางกายภาพ และมีพื้นที่เพียงพอที่จะเก็บเวชระเบียน ได้อย่างน้อย 5 ปี |
4 | ป้ายนำทาง ป้ายจราจร ป้ายชื่อโรงพยาบาล ป้ายชื่ออาคาร |
4.1 | มีป้ายนำทางบอกทิศทางและระยะทางสู่โรงพยาบาล ติดตั้งอยู่ บนถนนสาธารณะสายหลัก สายรอง และทางแยกในระยะที่เหมาะสม |
4.2 | มีป้ายจราจรภายในโรงพยาบาล ติดตั้งในตำแหน่งที่เหมาะสม สามารถมองเห็นได้ชัดเจน (ประเมินเฉพาะบริเวณส่วนให้การรักษาพยาบาล) |
4.3 | มีป้ายบอกทางไปยังอาคาร/แผนกต่างๆ มองเห็นได้ชัดเจน พร้อมระบบไฟส่องสว่างที่เหมาะสม |
4.4 | มีป้ายชื่อโรงพยาบาล ป้ายชื่ออาคารที่เป็นหน่วยบริการสำคัญ ได้แก่ แผนกฉุกเฉิน แผนกผู้ป่วยนอก เป็นต้น ติดตั้งอยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม สามารถมองเห็นได้ชัดเจนในเวลากลางวัน และมีไฟส่องสว่างในเวลากลางคืน |
5 | ถนนภายในโรงพยาบาล |
5.1 | พื้นผิวเรียบและไม่มีน้ำขัง |
5.2 | บริเวณจุดตัดถนน มีป้ายบอกทางชัดเจนและปราศจากสิ่งบดบังสายตา |
6 | ทางเดินเท้า |
6.1 | แบ่งขอบเขตของทางเดินเท้าออกจากเส้นทางจราจรของยานพาหนะอย่างชัดเจน |
6.2 | มีความกว้างไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร ตลอดเส้นทาง |
6.3 | ในจุดที่เป็นทางข้ามถนนและมีความต่างระดับ จะต้องทำทางลาดเอียง ให้สามารถนำเก้าอี้มีล้อ (Wheelchair) ผ่านได้โดยสะดวก รวมทั้งต้องจัดให้มีป้ายเตือนผู้ขับขี่ยานพาหนะ ว่าเป็นทางข้ามสำหรับผู้เดินเท้า |
7 | ทางเดินเชื่อมระหว่างอาคารสำหรับผู้ป่วย |
7.1 | มีทางเดินเชื่อมระหว่างอาคารในทุกหน่วยบริการของโรงพยาบาล |
7.2 | มีความกว้างประมาณ 2.50 เมตร เพื่อสะดวกต่อการเข็นเปลนอนผู้ป่วยสวนกันได้ และไม่มีสิ่งกีดขวางที่เป็นอุปสรรคต่อการสัญจร |
7.3 | ติดตั้งราวกันตก สูงประมาณ 1.10 ม. |
7.4 | ติดตั้งราวจับ สูงประมาณ 0.80-0.90 ม. |
7.5 | มีหลังคาหรือสิ่งปกคลุมที่ป้องกันแดดและฝนตลอดแนว |
8 | ทางลาด สำหรับผู้ป่วย |
8.1 | กรณีที่ระดับพื้นอาคารมีความต่างระดับกันมากกว่า 2 เซนติเมตร จะต้องทำทางลาดเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับผู้รับบริการ |
8.2 | มีความกว้างไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร ความลาดชัน 1:12 สามารถเข็นเก้าอี้มีล้อหรือเปลนอนผู้ป่วยได้สะดวกและ ปลอดภัย |
8.3 | ติดตั้งราวกันตก สูงประมาณ 1.10 เมตร |
8.4 | ติดตั้งราวจับ สูงประมาณ 0.80-0.90 เมตร |
8.5 | ทางลาดภายนอกต้องมีหลังคาหรือสิ่งปกคลุมที่ป้องกันแดดและฝนตลอดแนว |
8.6 | ห้องหรือแผนกที่ให้การรักษาพยาบาลผู้ป่วยตั้งแต่ที่ชั้น 2 ขึ้นไป ต้องจัดให้มีทางลาดหรือลิฟท์ (BED LIFT) |
9 | ที่จอดรถยนต์และจักรยานยนต์ |
9.1 | แยกพื้นที่จอดรถยนต์และรถจักรยานยนต์ออกจากแนวทางวิ่งของรถ รวมทั้งแสดงเครื่องหมายทิศทางอย่างชัดเจน |
9.2 | มีที่จอดรถสำหรับผู้พิการอยู่ใกล้ทางเข้าอาคารผู้ป่วยนอก และมีป้ายหรือเครื่องหมายแสดงอย่างชัดเจน |
10 | บริเวณรับ-ส่งผู้ป่วยหน้าอาคาร |
10.1 | มีความกว้างของถนนพอที่รถยนต์คันอื่น สามารถผ่านไปได้ ขณะที่มีรถยนต์จอดรับ-ส่งผู้ป่วย |
10.2 | ระดับพื้นของบริเวณรับ-ส่งผู้ป่วย ต้องอยู่ในระดับเดียวกับพื้นถนน ถ้าเป็นพื้นต่างระดับ ต้องมีทางลาดที่เหมาะสม |
10.3 | มีหลังคาหรือสิ่งปกคลุมที่สามารถป้องกันแดดและฝน |
11 | ห้องน้ำ-ส้วม สำหรับผู้รับบริการ |
11.1 | มีห้องน้ำ-ส้วม สำหรับผู้พิการ-ผู้สูงอายุ |
11.2 | มีราวพยุงตัวติดตั้งในตำแหน่งที่เหมาะสม |
11.3 | มีห้องน้ำสำหรับเด็กเล็ก เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด |
12 | บันไดหนีไฟ *** (รพ.ระดับ F ไม่ต้องประเมินข้อ 12.1-12.2) |
12.1 | มีความกว้างของบันได และชานพักที่สะดวกต่อการใช้งานและไม่มีสิ่งกีดขวาง |
12.2 | มีตัวเลขระบุชั้นอยู่ภายในตัวบันไดที่มองเห็นได้ชัดเจน |
IN | หมวดงานมัณฑนศิลป์ |
13 | งานตกแต่งภายในและเฟอร์นิเจอร์ภายในอาคาร |
13.1 | อ่างล้างมือสำหรับแพทย์ หรือเจ้าหน้าที่ ไม่ควรใช้ปะปนกับอ่างเทสิ่งสกปรกหรือล้างวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ และก๊อกน้ำควรใช้ก๊อกน้ำชนิดไม่ใช้มือสัมผัส (ก๊อกน้ำชนิดก้านปัดด้วยข้อศอก หรือเป็นแบบเซนเซอร์) |
13.2 | เคาน์เตอร์สำหรับพยาบาลเฝ้าระวังสังเกตการณ์ TOP เคาน์เตอร์ระดับบนไม่ควรสูงเกินกว่า 90 เซนติเมตร จากระดับพื้นห้อง เพื่อไม่ให้บังสายตาในขณะเฝ้าดูผู้ป่วย |
13.3 | ห้องตรวจของแพทย์ มีอ่างล้างมือสำหรับแพทย์และเจ้าหน้าที่อย่างน้อย 2 ห้องตรวจ ต่อ 1 อ่าง |
13.4 | เตียงผู้ป่วยควรมีม่านกั้นระหว่างเตียงผู้ป่วยเพื่อบังสายตาระหว่างการรักษา และเพื่อความเป็นส่วนตัวของผู้ป่วย |
13.5 | มีป้ายติดหน้าห้องหรือหน้าแผนกบริการ ในตำแหน่งที่สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน |
13.6 | แผนกผู้ป่วยใน บริเวณตั้งเตียงผู้ป่วย ควรมีระยะระหว่างเตียง ไม่น้อยกว่า 1 เมตร และสามารถนำเปลเข็นเข้าเทียบเตียงผู้ป่วยได้โดยสะดวก |
13.7 | ห้องผ่าตัด ควรมีอ่างฟอกมือติดกับห้องผ่าตัดอย่างน้อย 2 อ่างต่อ 1 ห้องผ่าตัด และก๊อกน้ำควรใช้ก๊อกน้ำชนิดไม่ใช้มือสัมผัส เช่น ก๊อกน้ำแบบใช้เข่าดันเปิด-ปิดน้ำ หรือแบบเซนเซอร์ |
13.8 | แผนกเภสัชกรรม มีตู้หรือชั้นเก็บยา เวชภัณฑ์ ที่เป็นสัดส่วน และมีตู้แยกเก็บยาเสพติดให้โทษและวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ที่มีกุญแจปิดอย่างมีประสิทธิภาพ |
13.9 | แผนกเภสัชกรรม มีสถานที่ และโต๊ะสำหรับเตรียมยา – ผสมยา แยกเป็นสัดส่วนจากที่จัดยา |
13.1 | มีห้องจ่ายยา และจัดแบ่งพื้นที่ใช้สอยอย่างเหมาะสม (บริเวณจ่ายยา/ให้คำแนะนำผู้ป่วย/เก็บรักษายา/ผสมยาสำหรับผู้ป่วยเฉพาะราย) |
13.11 | มีตู้/ชั้นเก็บยาหรือเวชภัณฑ์ที่เพียงพอและเหมาะสม |
13.12 | มีสถานที่ให้คำปรึกษาแนะนำด้านยาที่เป็นสัดส่วน |
13.13 | กรณีมีการเตรียมยาสำหรับผู้ป่วยเฉพาะรายในโรงพยาบาล ให้มีสถานที่สำหรับผู้ป่วยเฉพาะราย |
13.14 | แผนกรังสีวินิจฉัย มีป้ายคำเตือน “ผู้ป่วยมีครรภ์โปรดแจ้งเจ้าหน้าที่ทราบ” |
13.15 | มีห้องเปลี่ยนเสื้อผ้าสำหรับผู้ป่วยเป็นสัดส่วนและมิดชิด |
13.16 | การตรวจพิเศษทางรังสีวิทยาในระบบทางเดินอาหาร ต้องมีห้อง สุขาติดกับห้องตรวจ |
13.17 | มีป้ายสัญลักษณ์แสดงเขตรังสีรักษาและไฟสัญญาณแสดงขณะใช้งานเครื่องกำเนิดรังสี |
13.18 | แผนกผู้ป่วยหนัก บริเวณตั้งเตียงผู้ป่วย ควรมีระยะห่างระหว่างเตียงไม่น้อยกว่า 2 เมตร เพื่อให้สามารถวางอุปกรณ์ช่วยชีวิตและสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ *** (รพ.ระดับ F ไม่ต้องประเมินข้อ 13.18) |
13.19 | แผนกไตเทียม มีสถานที่และเฟอร์นิเจอร์สำหรับพักคอยของญาติผู้ป่วย โดยแยกเป็นสัดส่วนต่างหากจากบริเวณส่วนของผู้ป่วย *** (รพ.ระดับ F ไม่ต้องประเมินข้อ 13.19) |
13.2 | แผนกไตเทียม บริเวณตั้งเตียงผู้ป่วยมีระยะห่างระหว่างเตียงไม่น้อยกว่า 1.10 เมตรและความกว้างของทางเดินระหว่างปลายเตียงของสองฟากเตียงไม่น้อยกว่า 2 เมตร *** (รพ.ระดับ F ไม่ต้องประเมินข้อ 13.20) |
13.21 | ห้องฟอกไตเทียม มีขนาดของห้องบริการฟอกเลือดที่สัมพันธ์กับจำนวนเตียง และอุปกรณ์และพื้นที่ใช้สอยเหมาะสมในการปฏิบัติงานที่ได้มาตรฐาน โดยมีพื้นที่ไม่ต่ำกว่าสี่ตารางเมตรต่อหนึ่งจุดบริการ โดยส่วนที่แคบที่สุดไม่น้อยกว่า 1.80 เมตร เพื่อให้มีพื้นที่สามารถช่วยเหลือและเคลื่อนย้ายผู้ป่วยฉุกเฉินได้สะดวก |
13.22 | มีพื้นที่เตรียมน้ำบริสุทธิ์ พื้นที่ล้างตัวกรองแผนกบริการเทคนิคการแพทย์ |
13.23 | มีสถานที่เก็บสิ่งส่งตรวจเหมาะสม สะดวกต่อผู้รับบริการ |
13.24 | มีสถานที่ปฏิบัติเหมาะสมปลอดภัย มีการแยกพื้นที่ปฏิบัติการเฉพาะ เช่น งานธนาคารเลือด งานจุลชีววิทยาคลินิก เป็นต้น |
13.25 | มีการเก็บรักษาวัตถุหรือสารเคมีและสารไวไฟ โดยจัดไว้เป็นหมวดหมู่ มีป้ายและฉลากแสดงถูกต้องครบถ้วน |
13.26 | แผนกบริการแพทย์แผนไทย ห้องอบไอน้ำสมุนไพรรวมต้องแยกห้องให้บริการชาย-หญิง หรือถ้าไม่สามารถแยกได้ ต้องบริหารจัดการเวลาการให้บริการแก่ผู้รับบริการชาย-หญิงได้อย่างเหมาะสม |
13.27 | แผนกบริการแพทย์แผนไทย ห้องเปลี่ยนเสื้อผ้า (ถ้ามี) ต้องมีขนาดตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยแยกห้องเปลี่ยนเสื้อผ้าชาย-หญิง แต่หากไม่สามารถแยกได้ ต้องบริหารจัดการเวลาการใช้ห้องเปลี่ยนเสื้อผ้าของผู้รับบริการชาย-หญิงได้อย่างเหมาะสม |
13.28 | แผนกบริการแพทย์แผนจีน เตียงสำหรับนวดหรือฝังเข็ม มีขนาดความกว้างไม่น้อยกว่า 0.70 เมตร ความยาวไม่น้อยกว่า 1.80 เมตร ความสูงไม่ต่ำกว่า 0.70 เมตร และระยะห่างระหว่างเตียงไม่น้อยกว่า 1 เมตร |
13.29 | แผนกบริการการแพทย์แผนจีน เตียงต้องมีลักษณะมั่นคงแข็งแรงตามมาตรฐานการประกอบโรคศิลปะสาขาแพทย์แผนจีนกำหนด |
LS | หมวดงานภูมิทัศน์ |
14 | ภูมิทัศน์และสภาพแวดล้อม |
14.1 | บริเวณพักผ่อน มีพื้นที่รองรับเพียงพอต่อผู้ใช้บริการ มีความร่มรื่น สวยงาม สงบ มีอากาศถ่ายเทที่ดี และเหมาะสมกับผู้ใช้แต่ละวัย ทั้งเด็กและผู้สูงอายุ ทั้งเด็กและผู้สูงอายุ |
14.2 | พื้นที่ระหว่างอาคาร มีการจัดภูมิทัศน์ ใช้พรรณไม้ที่ดูแลรักษา ง่าย หรือใช้วัสดุตกแต่งพื้นผิวซึมน้ำ (Porous Pavement) |
14.3 | มีการจัดทำแผนปฏิบัติการ เช่น แผนการดูแลรักษาพืชพรรณไม้ แผนการแก้ไขน้ำท่วมขังบริเวณถนน-ทางเดินเท้า แผนการดูแลรักษาความสะอาดไม่ให้มีเศษขยะ แผนการจัดให้มีถังขยะพอเพียง เป็นต้น |
ST | หมวดงานโครงสร้าง |
15 | โครงสร้างอาคาร (ความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร) |
15.1 | มีแผนงานในการเฝ้าระวังให้อาคารมีสภาพพร้อมใช้งานและมั่นคงแข็งแรง |
15.2 | มีการตรวจสอบสภาพอาคารและบันทึกการตรวจสภาพอาคารพร้อมมีรายงานผลต่อหัวหน้าหน่วยงานหรือผู้บริหารโรงพยาบาล |
15.3 | มีการตรวจสอบอาคารตามที่กฎหมายกำหนด |
EE | หมวดงานระบบไฟฟ้า |
16 | ระบบไฟฟ้ากำลัง |
16.1 | มีแผนผังระบบไฟฟ้ากำลัง (แนวแรงสูงและแรงต่ำ ตำแหน่งหม้อแปลง ตำแหน่งเครื่องกำเนิดไฟฟ้า แสดงการจ่ายไฟระบบไฟฟ้าภายนอกอาคาร) |
16.2 | แนวการปักเสาพาดสายไฟฟ้าเป็นระเบียบเรียบร้อยและปลอดภัย |
16.3 | บริเวณที่ติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้าแบบตั้งพื้นและนั่งร้านต้องมีที่ ว่างเพื่อปฏิบัติงาน และมีการป้องกันอันตรายจากไฟฟ้า มีพื้นที่เพียงพอต่อการซ่อมบำรุงและรถซ่อมบำรุงสามารถเข้าถึงได้ มี มีป้ายแจ้งเตือนระวังอันตรายไฟฟ้าแรงสูง |
16.4 | สายไฟฟ้ามีระยะห่างจากตัวอาคารที่จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายและมีความสูงจากผิวจราจรหรือทางเดินที่เหมาะสมโดยไม่กีดขวางและไม่เป็นอันตรายต่อบุคคลทั่วไป |
16.5 | มีกระแสไฟฟ้าจ่ายให้กับอุปกรณ์ที่ใช้กับผู้รับบริการอย่างเพียงพอตลอด 24 ชั่วโมง |
16.6 | มีการติดตั้งแผงจ่ายไฟฟ้าหลัก (ตู้ MDB) อยู่ในห้องที่ทำด้วยวัสดุ มั่นคงแข็งแรง มีที่ว่างเพื่อปฏิบัติงาน สามารถเข้าตรวจสอบและซ่อมบำรุงได้สะดวก มีป้ายแจ้งเตือนระวังอันตรายจากไฟฟ้า |
16.7 | ตู้สวิทช์ตัดตอน (PANEL BOARD) มีที่ว่างเพื่อปฏิบัติงาน สามารถเข้าตรวจสอบได้ง่ายและอยู่ในสภาพที่ยึดติดแน่นมั่นคงแข็งแรง |
16.8 | มีระบบการต่อลงดินของหม้อแปลงไฟฟ้า และแผงจ่ายไฟฟ้าหลัก (ตู้ MDB) |
16.9 | มีระบบการต่อลงดินของแหล่งจ่ายไฟฟ้าแยกต่างหาก เช่น เครื่อง กำเนิดไฟฟ้าสำรองฉุกเฉิน การติดตั้งต้องให้สอดคล้องกับ ATS 3P หรือ ATS 4P |
16.1 | การต่อลงดินในพื้นที่ที่ไม่มีการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ไฟฟ้า (กลุ่ม 0) และพื้นที่ที่มีการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ไฟฟ้า (กลุ่ม 1) สายดินติดตั้งต้องเป็นแบบแยก (TN–S) |
16.11 | การต่อลงดินในพื้นที่ที่มีการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ไฟฟ้า (กลุ่ม 2) (ยกเว้นกลุ่ม 1) เช่น บริเวณห้องผ่าตัด,ห้อง ICU ฯลฯ ซึ่งการ จ่ายไฟฟ้าที่ไม่ต่อเนื่องสามารถก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้ สายดินติดตั้งเป็นแบบแยกออกจากระบบ (IT) |
17 | ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง |
17.1 | ภายนอกอาคารมีการติดตั้งเสาไฟฟ้าแสงสว่างหรือดวงโคมที่ให้ความสว่างในเวลากลางคืนได้อย่างพอเพียง สภาพของเสาไฟฟ้าและดวงโคมมีการติดตั้งอย่างมั่นคงแข็งแรงและปลอดภัย |
17.2 | ภายในอาคารมีค่าความเข้มของแสงสว่างพอเพียงและเหมาะสมต่อพื้นที่ใช้งาน |
17.3 | ภายนอกอาคารมีอุปกรณ์ป้องกันการใช้กระแสไฟฟ้าเกินและป้องกันอันตรายจากกระแสไฟฟ้ารั่ว |
18 | ระบบไฟฟ้าสำรองฉุกเฉิน |
18.1 | มีระบบไฟฟ้าสำรองฉุกเฉินในการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าต้องสามารถจ่ายไฟใช้งานภายใน 10 วินาที ภายหลังระบบไฟฟ้ากำลังหลักหยุดทำงาน |
18.2 | เครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรองต้องอยู่ในที่มิดชิด โดยอาจอยู่ภายในอาคารหลักหรืออยู่เป็นอาคารแยกต่างหาก มีการป้องกันแรงสั่นสะเทือนและเสียงจากเครื่อง มีประตูทางเข้าออกสะดวกและกว้างเพียงพอต่อการเคลื่อนย้ายหรือซ่อมบำรุง โดยมีระยะห่างโดยรอบจากเครื่องกับผนังไม่น้อยกว่า 1 เมตร |
18.3 | มีการทดสอบการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรองเป็นประจำและมีน้ำมันสำรองสำหรับการเดินเครื่องอย่างเพียงพอไม่น้อยกว่า 8 ชั่วโมง |
18.4 | ภายในอาคารที่ติดตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรอง ต้องมีการระบายอากาศที่ดีและสะอาด มีแสงสว่างเพียงพอในการตรวจสอบการทำงานของเครื่อง |
18.5 | ต้องมีรางระบายน้ำภายในห้องเครื่องในตำแหน่งที่เหมาะสม หรือรอบแท่นเครื่องสำหรับการระบายน้ำเวลาที่ทำความสะอาดพื้น |
18.6 | เครื่องกำเนิดไฟฟ้าต้องมีขนาดกำลังที่เหมาะสมและเพียงพอสามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าสำรองให้กับดวงโคมและอุปกรณ์การแพทย์ที่จำเป็นในแผนกอุบัติเหตุ ห้องผ่าตัด หอผู้ป่วยหนัก ห้องคลอด และธนาคารเลือดเป็นอย่างน้อย |
18.7 | มีเครื่องสำรองไฟฟ้าฉุกเฉิน (UPS) จ่ายให้กับอุปกรณ์ทางการ แพทย์ที่สำคัญสำหรับวงจรช่วยชีวิตซึ่งไม่สามารถหยุดได้ มีการใช้อย่างต่อเนื่องเพียงพอและเหมาะสม โดยอยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน |
18.8 | บันไดทางหนีไฟทางสัญจรห้องเครื่องและหน่วยบริการอื่นๆ ต้องมีระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินซึ่งใช้พลังงานจากแบตเตอรี่เพิ่มเติม ตามความเหมาะสมตามมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและ โคมไฟป้ายทางออกฉุกเฉินของ วสท. |
18.9 | ระบบนำทางเรืองแสงเพื่อการอพยพหนีภัย (ถ้ามี) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการอพยพหนีภัย เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินให้แก่เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลและประชาชนตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด |
19 | ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ |
19.1 | มีการติดตั้งระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ในทุกชั้นของอาคาร ประกอบด้วยอุปกรณ์ส่งสัญญาณที่สามารถส่งเสียงหรือสัญญาณ ให้ผู้ที่อยู่ภายในอาคารได้ยินหรือทราบอย่างทั่วถึง โดยการควบคุมด้วยมือหรือด้วยระบบอัตโนมัติในตำแหน่งที่เหมาะสม เช่น โถงพักรอ ห้องพักผู้ป่วย ห้องทำงาน เป็นต้น |
20 | ระบบป้องกันการเข้า-ออก |
20.1 | มีการติดตั้งระบบป้องกันการเข้าออก เพื่อป้องกันการเข้าถึงในสถานที่เฉพาะที่ต้องการความปลอดภัย |
20.2 | มีระบบหรือวิธีการรักษาความปลอดภัยของพยาบาลใน nurse station |
21 | ระบบป้องกันแรงดันและกระแสเกิน |
21.1 | มีการติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันแรงดันและกระแสเกินที่แผงจ่ายไฟฟ้าหลัก (ตู้ MDB) เพื่อป้องกันแรงดันและกระแสไฟเกินที่เกิดจากปัจจัยภายนอก เช่น ฟ้าผ่า, สวิทต์ชิ่ง, การลัดวงจร เป็นต้น |
SN | หมวดงานระบบประปาและสุขาภิบาล |
22 | ระบบประปา |
22.1 | มีแผนผังประปา |
22.2 | มีระบบจ่ายน้ำที่สะอาดไม่ปนเปื้อนสิ่งที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ไม่มีการรั่วซึมและมีแรงดันเพียงพอต่อการใช้งาน |
22.3 | มีการสำรองน้ำประปา |
22.4 | ถังเก็บน้ำสำรองต้องมีฝาถังปิดมิดชิด มีกุญแจล็อค ป้องกันสัตว์ แมลงและคนตกลงไปในถัง |
22.5 | ระบบสำรองน้ำประปาจะต้องไม่รั่วซึมและติดตั้งในสถานที่เหมาะสม ไม่ก่อให้เกิดการปนเปื้อนต่อคุณภาพน้ำประปา เช่น ระดับฝาถังเก็บน้ำใต้ดิน ต้องสูงกว่าระดับรางระบายน้ำฝนทั่วไป โดยสำรองน้ำไว้ใช้ได้อย่างน้อย 2 วัน |
22.6 | มีระบบการทำน้ำบริสุทธิ์ที่ได้มาตรฐาน (Water Treatment System) เช่น Reverse Osmosis, Deionizer) พร้อมเกณฑ์การทำความสะอาดระบบน้ำและควบคุมคุณภาพของน้ำบริสุทธิ์อยู่ตลอดเวลา |
23 | ระบบระบายน้ำและระบบสุขาภิบาล |
23.1 | มีผังระบบระบายน้ำ และระบบสุขาภิบาล |
23.2 | มีระบบระบายน้ำฝนจากอาคารสู่แหล่งระบายน้ำสาธารณะ |
23.3 | มีการแยกประเภทสำหรับท่อต่างๆ |
23.4 | มีระบบสุขาภิบาลห้องปฏิบัติการ |
ME | หมวดงานระบบเครื่องกล |
24 | ลิฟท์ *** (รพ.ระดับ F ไม่ต้องประเมินข้อ 24.1-24.6) |
24.1 | มีการแยกประเภทของลิฟต์ตามการใช้งาน ได้แก่ ลิฟต์โดยสาร , ลิฟต์ขนของ , ลิฟต์สำหรับพนักงานดับเพลิง |
24.2 | มีขนาดและจำนวนเพียงพอต่อการใช้งาน |
24.3 | บริเวณโถงหน้าลิฟต์บรรทุกเตียงคนไข้ ต้องมีพื้นที่สามารถเข็นเปลนอนสวนกันได้ |
24.4 | กำหนดให้มีลิฟต์สำหรับผู้พิการและทุพพลภาพสามารถใช้งานได้ |
24.5 | บริเวณโถงหน้าลิฟต์และภายในห้องโดยสาร ต้องสะอาด มีระบบระบายอากาศและแสงสว่างภายในห้องโดยสารที่เหมาะสม |
24.6 | กรณีไฟฟ้าดับ จัดให้มีระบบ ARD (Automatic Rescue Device) เพื่อให้ลิฟท์สามารถเคลื่อนไปเทียบยังชั้นที่ใกล้ที่สุดและประตูลิฟท์จะต้องเปิดออกทันที |
25 | ระบบระบายอากาศและปรับอากาศ |
25.1 | พื้นที่ให้บริการและพื้นที่ปฏิบัติงาน ต้องมีอากาศที่สะอาดจากภายนอกเติมเข้าสู่พื้นที่บริการ/ปฏิบัติงาน ให้ได้อัตราการถ่ายเทอากาศที่เหมาะสม ทั้งโดยวิธีธรรมชาติหรือวิธีกล |
25.2 | มีการควบคุมทิศทางการเคลื่อนที่ของอากาศในบริเวณห้องตรวจ |
25.3 | มีระบบควบคุมการติดเชื้อที่ได้มาตรฐาน |
25.4 | ห้องตรวจผู้ป่วยที่แสดงอาการโรคติดเชื้อทางอากาศ ต้องมีการควบคุมแรงดันอากาศ |
1 | การกำหนดนโยบายและการจัดการสิ่งแวดล้อม |
1.1 | มีนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมที่ชัดเจน |
1.2 | มีการกำหนดโครงสร้างและอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบในการจัดการสิ่งแวดล้อม |
1.3 | มีแนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อม หรือมาตรการตามนโยบายในการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานพยาบาล พร้อมทั้งมีการส่งเสริมและพัฒนาเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมในสถานพยาบาลอย่างเป็นรูปธรรม |
1.4 | การเฝ้าติดตามและวัดผลในกิจกรรมซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม |
1.5 | มีการดำเนินการแก้ไขและป้องกันจากกิจกรรมซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และตรวจติดตามประสิทธิผลของการแก้ไขและการป้องกันด้านสิ่งแวดล้อม |
2 | การจัดการมูลฝอย (มูลฝอยทั่วไป, มูลฝอยติดเชื้อ, วัสดุและกากของเสียอันตราย) |
2.1 | จัดให้มีผู้รับผิดชอบในการจัดการมูลฝอย |
2.2 | มีคู่มือกำหนดขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน |
2.3 | ผู้ปฏิบัติงานทราบขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน และมีการปฏิบัติตามคู่มือที่กำหนด พร้อมจดบันทึกผลการปฏิบัติงานรายงานต่อผู้บังคับบัญชา |
2.4 | มีระบบการคัดแยกมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิด ตามประเภทของมูลฝอย |
2.5 | มีการแยกมูลฝอยติดเชื้อระหว่างวัสดุมีคมและวัสดุไม่มีคม ภาชนะมีความคงทน และเหมาะสม |
2.6 | มีแผนการและวิธีการเก็บขนเคลื่อนย้ายมูลฝอยที่ถูกสุขลักษณะ |
2.7 | มีสถานที่พักมูลฝอยที่ถูกสุขลักษณะ |
2.8 | มูลฝอยติดเชื้อต้องเก็บกักไว้ไม่เกิน 7 วัน หากมีการเก็บกักมูลฝอยติดเชื้อไว้เกิน 7 วัน ที่พักรวมมูลฝอยติดเชื้อ ต้องสามารถควบคุมอุณหภูมิให้อยู่ที่ 10 องศาเซลเซียส หรือต่ำกว่านั้นได้ |
2.9 | มีการกำจัดมูลฝอย (มูลฝอยทั่วไป, มูลฝอยติดเชื้อ, วัสดุและกากของเสียอันตราย) ที่ถูกสุขลักษณะ หรือเป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง |
2.1 | มีบัญชีรายการของวัสดุและของเสียอันตรายที่มีในโรงพยาบาล |
2.11 | มีข้อปฏิบัติและดำเนินการในการจัดเก็บของเสียอันตรายอย่างปลอดภัย |
3 | การจัดการน้ำเสีย |
3.1 | มีการบริหารจัดการปริมาณน้ำทิ้งของสถานพยาบาลให้เกิดความเพียงพอ ปลอดภัย กับความสามารถของระบบบำบัดน้ำเสีย |
3.2 | ผู้รับผิดชอบในการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียที่ผ่านการอบรม และมีเอกสารแสดงการมอบหมายหน้าที่เป็นลายลักษณ์อักษร |
3.3 | มีคู่มือกำหนดขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน ตามชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย |
3.4 | ผู้ปฏิบัติงานทราบขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน และมีการปฏิบัติตามคู่มือที่กำหนด |
3.5 | มีผู้ควบคุมระบบบำบัดน้ำเสีย และได้รับการอบรมหลักสูตรในการควบคุมระบบบำบัดน้ำเสีย และมีการทบทวนอย่างน้อย 2 ปี/ครั้ง |
3.6 | มีแผนผังแสดงกระบวนการทำงานของระบบบำบัดน้ำเสียที่เป็นปัจจุบัน |
3.7 | มีอุปกรณ์เบื้องต้นที่จำเป็นในการดูแล ควบคุม ระบบบำบัดน้ำเสีย |
3.8 | มีการจัดทำเอกสารกำกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ประกอบระบบบำบัดน้ำเสียทุกเครื่อง (ขนาด ชนิด อายุการใช้งานวิธีการใช้งาน ประวัติการซ่อม) |
3.9 | มีแผนงานการซ่อมบำรุงเครื่องจักรและอุปกรณ์ตามระยะเวลาที่กำหนดเป็นลายลักษณ์อักษร |
3.1 | มีการตรวจสอบการทำงานของระบบบำบัดน้ำเสีย พร้อมบันทึกผลการตรวจสอบประจำวัน |
3.11 | มีการบันทึกและรายงานผลการทำงานของระบบบำบัดน้ำเสียตามมาตรา 80 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 |
3.12 | มีการตรวจวัดคุณภาพน้ำทิ้งทุกๆ 3 เดือน ตามมาตรฐานหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง |
4 | การจัดการน้ำอุปโภคและบริโภค |
4.1 | จัดให้มีผู้รับผิดชอบดูแลระบบน้ำอุปโภคและบริโภค |
4.2 | มีคู่มือกำหนดขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน |
4.3 | ผู้ปฏิบัติงานทราบขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน และมีการปฏิบัติตามคู่มือที่กำหนด พร้อมจดบันทึกผลการปฏิบัติงาน |
4.4 | มีการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำอุปโภคและบริโภค ตามเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข หรือมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง |
4.5 | มีการตรวจวัดค่าคลอรีนคงเหลือในน้ำประปาประจำวัน และตรวจหาค่าเชื้อโรคประจำเดือน พร้อมบันทึกผลการตรวจสอบ |
4.6 | มีการจดบันทึกข้อมูลการใช้น้ำประจำวัน |
4.7 | มีแผนและการดำเนินการระบบการดูแลรักษาถังพักน้ำหรือถังสำรองน้ำ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง |
4.8 | มีการสำรองน้ำอุปโภคและบริโภค ให้เพียงพอในสภาวะฉุกเฉิน อย่างน้อย 3 วัน |
5 | การจัดการระบบส่องสว่าง |
5.1 | มีการตรวจวัดแสงสว่างในพื้นที่ปฏิบัติงาน/พื้นที่ให้บริการให้เป็นไปตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง |
6 | การจัดการมลพิษทางเสียง |
6.1 | มีการกำหนดมาตรการ และวิธีการป้องกันการควบคุมมลพิษทางเสียง เช่น ห้องเครื่อง ห้องอัดอากาศ พื้นที่ก่อสร้าง เป็นต้น |
6.2 | มีการตรวจวัดเสียงในพื้นที่ที่มีความเสี่ยง เช่น ห้องเครื่อง พื้นที่ก่อสร้าง เป็นต้น |
7 | การควบคุมมลพิษทางอากาศ |
7.1 | มีการตรวจวัดคุณภาพอากาศในพื้นที่ให้บริการให้เป็นไปตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง |
8 | การลดปริมาณของเสีย |
8.1 | มีแผนดำเนินการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน และติดตามผล เพื่อลดการเกิดของเสีย |
9 | การจัดการด้านพลังงาน |
9.1 | มีแผนและการดำเนินงานในการส่งเสริมและอนุรักษ์พลังงาน |
1 | การจัดการด้านความปลอดภัย |
1.1 | จัดให้มีนโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของโรงพยาบาล |
1.2 | จัดให้มีผู้รับผิดชอบหรือคณะทำงานที่ทำหน้าที่รับผิดชอบงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในโรงพยาบาล |
1.3 | จัดให้มีแผนงาน งบประมาณ การติดตามประเมินผล รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานด้าน ความปลอดภัยประจำปี |
2 | กฎ ระเบียบ มาตรฐานหรือคู่มือปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการทำงาน |
2.1 | จัดให้มีกฎ ระเบียบ มาตรฐานหรือคู่มือปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการทำงานเหมาะสมกับบริบทของพยาบาล |
2.2 | จัดทำมาตรการหรือแผนรองรับกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินตามปัจจัยเสี่ยงของโรงพยาบาล |
2.3 | มีวิธีการควบคุม กำกับ ติดตามประเมินผล การปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ มาตรฐานหรือคู่มือความปลอดภัยในการทำงาน มาตรการหรือแผนรองรับกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน และมีการทบทวนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้งอย่างต่อเนื่อง |
3 | การอบรมบุคลากร |
3.1 | มีการอบรมหรือให้ความรู้บุคลากรทุกระดับตามช่องทางการสื่อสารที่เหมาะสมและทั่วถึง เกี่ยวกับกฎ ระเบียบ คู่มือความปลอดภัยในการทำงานของโรงพยาบาล และมีการทบทวนความรู้ตามระยะเวลาที่เหมาะสม |
3.2 | มีการฝึกอบรมให้ความรู้เฉพาะด้านของบุคลากรที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับงานในระบบวิศวกรรมที่มีความเสี่ยงสูงหรือลักษณะงานอื่นที่มีความเสี่ยงตามบริบทของโรงพยาบาล โดยวิธี on the job training หรือส่ง อบรมภายนอกและมีการติดตามประเมินผลและทบทวนความรู้อย่างต่อเนื่อง |
4 | สภาพแวดล้อม ความปลอดภัยในการทำงานตามปัจจัยเสี่ยงของบุคลากร |
4.1 | จัดให้มีการตรวจวัดหรือประเมินสภาพแวดล้อมในการทำงานตามปัจจัยเสี่ยงของบุคลากร อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง |
4.2 | จัดให้มีการตรวจสุขภาพของบุคลากรที่ทำงานเกี่ยวข้องกับปัจจัยเสี่ยงอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง |
4.3 | มีการตรวจสอบ ประเมิน ค้นหาความเสี่ยงในระบบวิศวกรรมที่มีความเสี่ยงสูงอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง |
4.4 | มีแผนการตรวจสอบ ทดสอบ และบำรุงรักษา อุปกรณ์ เครื่องจักรกล ในระบบวิศวกรรมที่มีความเสี่ยงสูงตามกำหนด อย่างต่อเนื่อง |
4.5 | มีแนวปฏิบัติฉุกเฉินเมื่อระบบทางด้านวิศวกรรมความเสี่ยงสูง อาทิ เช่น ระบบไฟฟ้า ระบบก๊าซทางการแพทย์ ระบบสุขาภิบาลหรือระบบอื่นตามบริบทของโรงพยาบาล ไม่สามารถใช้งานได้ |
5 | การจัดการแบบแปลนแผนผังงานระบบวิศวกรรมที่มีความเสี่ยงสูง |
5.1 | มีแบบแปลนแผนผังหรือรายละเอียดข้อมูลของระบบทางวิศวกรรมที่มีความเสี่ยงสูง |
5.2 | มีระบบการจัดเก็บ ทบทวน แบบแปลนแผนผังหรือรายละเอียดข้อมูลของระบบทางวิศวกรรมที่มีความเสี่ยงสูง |
6 | การตรวจสอบประสิทธิภาพระบบทางวิศวกรรมของห้องที่ให้บริการทางการแพทย์ที่สำคัญ |
6.1 | มีการตรวจสอบและการทดสอบระบบการทำงานโดยผู้รับผิดชอบ |
6.2 | มีการตรวจสอบ ทดสอบ ทวนสอบตามมาตรฐานอย่างต่อเนื่อง |
7 | คุณภาพของระบบไฟฟ้า |
7.1 | มีระบบตรวจติดตาม เฝ้าระวัง ประเมินและวิเคราะห์ข้อมูลการใช้พลังงานไฟฟ้า ในระบบไฟฟ้าหลักและระบบไฟฟ้าสำรองให้เพียงพอ พร้อมใช้ ทั้งในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน |
7.2 | มีการจัดระดับความสำคัญการจ่ายโหลด มีแผนผัง หรือรายละเอียดข้อมูลของระบบการจ่ายไฟฟ้าสำรอง |
7.3 | มีการทดสอบ ตรวจสอบการทำงานของระบบจ่ายไฟฟ้าสำรองให้พร้อมใช้ |
7.4 | มีการทดสอบ ตรวจสอบการทำงานของอุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟ (Transfer switch) |
8 | การจัดการระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย |
8.1 | มีนโยบายความปลอดภัยด้านการจัดการป้องกันและระงับอัคคีภัย มีผู้รับผิดชอบหรือคณะทำงานในการจัดการระบบป้องกันและระงับอัคคีภัยของโรงพยาบาล |
8.2 | มีการประเมินสถานภาพการจัดการป้องกันและระงับอัคคีภัยและทบทวนตามระยะเวลาที่เหมาะสม |
8.3 | มีกระบวนการในการจัดการความเสี่ยงด้านอัคคีภัย |
8.4 | มีคู่มือระบบการป้องกันและระงับอัคคีภัยของโรงพยาบาล |
8.5 | มีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยของโรงพยาบาล |
8.6 | มีการจัดการฝึกซ้อมดับเพลิงขั้นต้น และอพยพหนีไฟที่สอดคล้องกับกฎหมาย |
8.7 | มีการตรวจสอบ ทดสอบ บำรุงรักษาระบบป้องกันและระงับอัคคีภัยให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานอยู่เสมอ |
8.8 | ความพร้อมของเส้นทางหนีไฟ |
8.9 | จัดเตรียมพื้นที่ หรือกำหนดจุดปลอดภัยในพื้นที่รักษาพยาบาลที่ผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้สะดวก |
8.1 | จัดเตรียมพื้นที่จุดรวมพลภายนอกอาคารขณะเกิดอัคคีภัย |
9 | ระบบก๊าซทางการแพทย์ |
9.1 | มีมาตรการรองรับกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินเพื่อให้ระบบก๊าซทางการแพทย์สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง |
9.2 | มีการดูแลรักษา ซ่อมบำรุงระบบก๊าซทางการแพทย์และอุปกรณ์ประกอบให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานทั้งในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน |
9.3 | มีการทดสอบ ตรวจสอบระบบสัญญาณเตือนของระบบก๊าซทางการแพทย์ |
9.4 | มีป้ายคำเตือนหรือสัญลักษณ์หรือตัวบ่งชี้ ที่เกี่ยวกับความปลอดภัย ไว้ที่บริเวณห้องหรือสถานที่เก็บหรือติดตั้งท่อบรรจุ ถังบรรจุ ห้องระบบจ่ายก๊าซทางการแพทย์ แนวเส้นท่อและบริเวณลิ้นควบคุมประจำชั้นหรือพื้นที่ |
10 | พื้นที่กำเนิดรังสี |
10.1 | กำหนดหรือบ่งชี้บริเวณพื้นที่ที่มีรังสี มีเครื่องหมาย ป้ายเตือนอันตรายจากรังสี สัญญาณเตือนภัยที่สอดคล้องกับกฎหมายหรือมาตรฐาน ติดแสดงให้เห็นโดยชัดเจน |
10.2 | มีป้ายสัญลักษณ์ ป้ายเตือนภัยตามแบบมาตรฐานในบริเวณพื้นที่กำเนิดรังสี |
10.3 | มีเอกสารแสดงผลการตรวจสอบความปลอดภัยของรังสีจากหน่วยงานรับผิดชอบ |
1 | การจัดหาและติดตั้งของเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุข |
1.1 | เครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุขที่ใช้งานในโรงพยาบาลต้องได้รับรองมาตรฐานสากลหรือมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง และไม่เคยถูกแจ้งเตือนและเรียกคืนผลิตภัณฑ์ (Alerts and Recalls) โดยที่ผู้ผลิตหรือผู้นำเข้าปฏิบัติตามพระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ |
1.2 | การติดตั้งเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุขต้องเป็นไปตามข้อกำหนดของผู้ผลิต และต้องได้รับการทดสอบและตรวจสอบเครื่องมือก่อนการตรวจรับ เพื่อตรวจสอบสมบูรณ์พร้อมในการทำงานของเครื่องและความสามารถในการเชื่อมต่อกับระบบสนับสนุนของโรงพยาบาลได้อย่างปลอดภัย |
1.3 | ต้องมีการขออนุญาตติดตั้งและใช้งานเครื่องมือ หากมีข้อกฎหมายกำหนดไว้ |
1.4 | ต้องจัดทำทะเบียนประวัติหรือฐานข้อมูลประวัติเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เป็นปัจจุบัน และมีการประเมินระดับความเสี่ยงของเครื่องมือที่ต้องการการบำรุงรักษา |
2 | การใช้งานและบำรุงรักษาตามรอบเวลาของเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุข |
2.1 | ผู้ใช้งานและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดูแลบำรุงรักษาตามรอบเวลาของเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุขต้องผ่านกระบวนการอบรมการใช้งานและบำรุงรักษาจากผู้ผลิตหรือจำหน่ายผลิตภัณฑ์ |
2.2 | มีการตรวจสอบและบำรุงรักษาตามรอบเวลาครอบคลุมทุกเครื่องมือที่ต้องการการบำรุงรักษารวมถึงเครื่องมือบริจาคตามแผนและรอบระยะเวลาตามข้อกำหนดของผู้ผลิตเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือตามมาตรฐานของวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง หรือตามประกาศของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ |
2.3 | ผู้ปฏิบัติงานในการตรวจสอบและบำรุงรักษาตามรอบเวลาของเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุขต้องมีประสบการณ์หรือคุณวุฒิที่เหมาะสมตามมาตรฐานของวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง หรือตามประกาศของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ |
3 | ผลการตรวจสอบและบำรุงรักษาตามรอบเวลาของเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุข |
3.1 | การบำรุงรักษาเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุข ต้องครอบคลุมการทดสอบหรือสอบเทียบประสิทธิภาพการทำงาน การทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้า การทดสอบทางกายภาพภายนอกและฟังก์ชั่นการทำงาน และการบำรุงรักษาตามรอบเวลา |
3.2 | การบ่งชี้สถานะบำรุงรักษาเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุขอย่างชัดเจนเป็นปัจจุบันและสืบค้นหาผลการตรวจสอบย้อนหลังได้ |
3.3 | วิธีการบำรุงรักษาเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุขปฏิบัติตามข้อกำหนดของผู้ผลิต หรือตามมาตรฐานของวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง หรือตามประกาศของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ |
3.4 | เครื่องมือมาตรฐานในงานบำรุงรักษาเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุขมีความเหมาะสมเป็นไปตามข้อกำหนดของผู้ผลิต หรือตามมาตรฐานของวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง หรือตามประกาศของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ และเครื่องมือมาตรฐานต้องสามารถสอบกลับผลการวัดได้ |
4 | การซ่อมบำรุงหรือการบำรุงรักษาเชิงแก้ไขของเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุข |
4.1 | มีหน่วยงานที่รับผิดชอบการซ่อมบำรุงหรือการบำรุงรักษาเชิงแก้ไขของเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุขที่ชัดเจนในโรงพยาบาล |
4.2 | ผู้ปฏิบัติงงานซ่อมบำรุงหรือการบำรุงรักษาเชิงแก้ไขต้องผ่านกระบวนการอบรมจากผู้ผลิตหรือจำหน่ายผลิตภัณฑ์ และต้องมีประสบการณ์หรือคุณวุฒิที่เหมาะสมตามมาตรฐานของวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง หรือตามประกาศของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ |
4.3 | ต้องทำการตรวจสอบประสิทธิภาพและความปลอดภัย รวมทั้งปรับเทียบเครื่องมือใหม่ หลังจากซ่อมบำรุงหรือการบำรุงรักษาเชิงแก้ไขแล้วเสร็จ |
4.4 | ผลการซ่อมบำรุงหรือการบำรุงรักษาเชิงแก้ไข ต้องประกอบไปด้วยคำอธิบายปัญหาและอาการที่เกิดขึ้นของเครื่องมือ หมายเลขอะไหล่ที่ทำการเปลี่ยน ผู้ปฏิบัติงานซ่อมบำรุงและแผนกหรือหน่วนงานที่แจ้งการซ่อมบำรุงเป็นอย่างน้อย |
5 | การยกเลิกการใช้งานเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุข |
5.1 | มีหลักเกณฑ์ในการตัดสินใจยกเลิกการใช้งานเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุข โดยประเมินจากประวัติและค่าใช้จ่ายในการซ่อมเป็นอย่างน้อย |
5.2 | เครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุขที่ถูกยกเลิกการใช้งานต้องนำออกจากพื้นที่ให้บริการทางการแพทย์และบ่งชี้สถานะการยกเลิกการใช้ |
5.3 | เครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุขที่ถูกยกเลิกต้องปรับปรุงสถานะลงในทะเบียนประวัติหรือฐานข้อมูลประวัติ และแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหากมีข้อกฎหมายกำหนดไว้ |
1.1 | มีผู้รับผิดชอบ ด้านระบบเรียกพยาบาล |
1.2 | มีคู่มือการใช้งานของระบบเรียกพยาบาล |
1.3 | มีแผนผังระบบเรียกพยาบาลที่เป็นปัจจุบันและมีบัญชีครุภัณฑ์ระบบเรียกพยาบาล |
1.4 | มีการตรวจสอบระบบเรียกพยาบาล ให้พร้อมใช้ตลอดเวลา |
1.5 | มีระบบจ่ายไฟฟ้าสำรอง |
1.6 | มีแผนและประวัติการบำรุงรักษา |
1.7 | มีอุปกรณ์สำหรับเรียกพยาบาลที่หัวเตียงผู้ป่วย ในห้องน้ำผู้ป่วย และห้องน้ำคนพิการ |
2 | ระบบวิทยุคมนาคม |
2.1 | มีผู้รับผิดชอบ ด้านระบบวิทยุคมนาคม |
2.2 | มีคู่มือการใช้งานระบบวิทยุคมนาคม |
2.3 | มีแผนผังโครงข่ายวิทยุคมนาคมที่เป็นปัจจุบันและมีบัญชีครุภัณฑ์ระบบวิทยุคมนาคม |
2.4 | มีการตรวจสอบระบบวิทยุคมนาคม ให้พร้อมใช้ตลอดเวลา |
2.5 | มีระบบจ่ายไฟฟ้าสำรอง |
2.6 | มีแผนและประวัติการบำรุงรักษา |
2.7 | ผู้ใช้งานวิทยุคมนาคมต้องมีบัตรประจำตัวผู้ใช้และบัตรประจำตัวเครื่องวิทยุคมนาคม |
2.8 | การมีใช้เครื่องวิทยุคมนาคม และตั้งสถานีวิทยุคมนาคม เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด |
3 | ระบบโทรศัพท์ |
3.1 | มีผู้รับผิดชอบ ด้านระบบโทรศัพท์ |
3.2 | มีคู่มือการใช้งานระบบโทรศัพท์ |
3.3 | มีแผนผังระบบโทรศัพท์ที่เป็นปัจจุบันและมีบัญชีครุภัณฑ์ระบบโทรศัพท์ |
3.4 | มีการตรวจสอบระบบโทรศัพท์ ให้พร้อมใช้ตลอดเวลา |
3.5 | มีระบบจ่ายไฟฟ้าสำรอง |
3.6 | มีแผนและประวัติการบำรุงรักษา |
4 | ระบบเสียงประกาศ |
4.1 | มีผู้รับผิดชอบ ด้านระบบเสียงประกาศ |
4.2 | มีคู่มือการใช้งานระบบเสียงประกาศ |
4.3 | มีแผนผังระบบเสียงประกาศที่เป็นปัจจุบันและมีบัญชีครุภัณฑ์ของระบบเสียงประกาศ |
4.4 | มีการตรวจสอบระบบเสียงประกาศ ให้พร้อมใช้ตลอดเวลา |
4.5 | มีระบบจ่ายไฟฟ้าสำรอง |
4.6 | มีแผนและประวัติการบำรุงรักษา |
5 | ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด |
5.1 | มีผู้รับผิดชอบ ด้านระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด |
5.2 | มีคู่มือการใช้งานระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด |
5.3 | มีแผนผังระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดที่เป็นปัจจุบันและมีบัญชีครุภัณฑ์ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด |
5.4 | มีการตรวจสอบระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ให้พร้อมใช้ตลอดเวลา |
5.5 | มีระบบจ่ายไฟฟ้าสำรอง |
5.6 | มีแผนและประวัติการบำรุงรักษา |
5.7 | มีห้องควบคุมหลักและมีระเบียบวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการเข้าถึงข้อมูล |
6 | ระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูล |
6.1 | มีผู้รับผิดชอบ ด้านระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูล |
6.2 | มีคู่มือการใช้งานระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูล |
6.3 | มีแผนผังระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลที่เป็นปัจจุบันและมีบัญชีครุภัณฑ์ระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูล |
6.4 | มีการตรวจสอบระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูล ให้พร้อมใช้ตลอดเวลา |
6.5 | มีแผนและประวัติการบำรุงรักษา |
6.6 | มีระเบียบวิธีปฏิบัติการเข้าใช้เครือข่ายสื่อสารข้อมูล |
7 | ระบบโทรทัศน์ภายใน |
7.1 | มีผู้รับผิดชอบ ด้านระบบโทรทัศน์ภายใน |
7.2 | มีคู่มือการใช้งานระบบโทรทัศน์ภายใน |
7.3 | มีแผนผังระบบโทรทัศน์ภายในที่เป็นปัจจุบันและมีบัญชีครุภัณฑ์ระบบโทรทัศน์ภายใน |
7.4 | มีการตรวจสอบระบบโทรทัศน์ภายใน ให้พร้อมใช้ตลอดเวลา |
7.5 | มีระบบจ่ายไฟฟ้าสำรอง |
7.6 | มีแผนและประวัติการบำรุงรักษา |
8 | ระบบวิศวกรรมในรถพยาบาล |
8.1 | มีผู้รับผิดชอบ ด้านระบบวิศวกรรมในรถพยาบาล |
8.2 | มีคู่มือการใช้งานรถพยาบาล เครื่องมือและอุปกรณ์ในรถพยาบาล download |
8.3 | เป็นรถพยาบาล ตามกฎหมายและมาตรฐานกำหนด |
8.4 | มีการตรวจสอบระบบวิศวกรรมในรถพยาบาล ให้พร้อมใช้ตลอดเวลา |
8.5 | มีแผนและประวัติการบำรุงรักษา |
1 | การบริหารจัดการ |
1.1 | นโยบายด้านสุขศึกษาหรือสร้างเสริมสุขภาพของโรงพยาบาล |
1.2 | บุคลากรดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ |
2 | กระบวนงานสุขศึกษาในกลุ่มไม่ป่วยเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน |
2.1 | ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ(HB) และหรือ ข้อมูลความรอบรู้ด้านสุขภาพ( HL) ที่สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพที่สำคัญตามภารกิจของโรงพยาบาล |
2.2 | การวิเคราะห์ปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพ ที่สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพที่สำคัญตามภารกิจของโรงพยาบาล |
2.3 | แผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษาที่มีวัตถุประสงค์หรือตัวชี้วัดพฤติกรรมสุขภาพที่สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ตามภารกิจของโรงพยาบาล |
2.4 | การออกแบบกิจกรรมและใช้สื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่สอดคล้องกับปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพและปัญหาความต้องการและวิถีชีวิตของกลุ่มเป้าหมาย |
2.5 | แผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือแผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษาจัดทำโดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสุขศึกษา/ทีมสหวิชาชีพ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเครือข่ายตัวแทนภาคประชาชน |
2.6 | แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ |
2.7 | การจัดกิจกรรมตามแผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษา |
2.8 | การสนับสนุน เสริมพลังให้กับภาคีเครือข่าย แกนนำสุขภาพภาคประชาชน ในการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ |
2.9 | การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน |
3 | กระบวนการสุขศึกษาในกลุ่มป่วยเพื่อส่งเสริมการจัดการตนเองในผู้ป่วยและญาติ |
3.1 | ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ(HB) และหรือ ข้อมูลความรอบรู้ด้านสุขภาพ( HL) ที่สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพที่สำคัญของผู้ป่วย |
3.2 | มีการวิเคราะห์ปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพ ที่สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพที่สำคัญของผู้ป่วย |
3.3 | แผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษาที่มีวัตถุประสงค์หรือตัวชี้วัดพฤติกรรมสุขภาพที่สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพที่สำคัญของผู้ป่วย |
3.4 | การออกแบบกิจกรรมและใช้สื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่สอดคล้องกับปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพและปัญหา ความต้องการและวิถีชีวิตของผู้ป่วยและญาติ |
3.5 | แผนงาน หรือ โครงการ หรือโปรแกรมสุขศึกษาหรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษา จัดทำโดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ สุขศึกษา ทีมสหวิชาชีพ ผู้ป่วยและญาติ |
3.6 | แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ |
3.7 | การจัดกิจกรรมตามแผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษา |
3.8 | การสนับสนุน เสริมพลังให้กับภาคีเครือข่าย ผู้ป่วยและญาติ ในการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ |
3.9 | การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน |
4 | ผลลัพธ์การดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ |
4.1 | กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านกระบวนการสุขศึกษามีพฤติกรรมสุขภาพ (HB) หรือความรอบรู้ทางสุขภาพ (HL) ในปัญหาสุขภาพที่สำคัญเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้น |
4.2 | กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านกระบวนการสุขศึกษามีภาวะสุขภาพเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้น |
4.3 | การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ |
4.4 | งานวิจัย หรือ นวัตกรรม หรือ ต้นแบบ หรือผลงานเด่นที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ |
4.5 | ความพึงพอใจต่อกระบวนการสุขศึกษาตามแผนงานโครงการ |
1 | โครงสร้างและบทบาท ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ |
1.1 | มีการจัดทีมดูแลระบบสารสนเทศของโรงพยาบาลประกอบด้วยผู้บริหารและฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ |
1.2 | มีการจัดทำแผนแม่บทหรือแผนพัฒนาของโรงพยาบาลโดยมีการกำหนดเป้าหมายและแนวทางการพัฒนาและการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศไว้อย่างชัดเจน |
1.3 | มีนโยบายและแผนการปฏิบัติด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของโรงพยาบาล |
1.4 | มีการจัดโครงสร้างและอัตรากำลังของหน่วยงานสารสนเทศของโรงพยาบาลที่เหมาะสม |
1.5 | มีการกำหนดมาตรฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ ที่จำเป็นสอดคล้องกับมาตรฐานของประเทศหรือมาตรฐานสากล ได้แก่ มาตรฐานข้อมูล มาตรฐานรหัสข้อมูล มาตรฐานการปฏิบัติงาน มาตรฐานความปลอดภัยและความลับของผู้ป่วย มาตรฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มาตรฐานทางกายภาพและสภาพแวดล้อม |
2 | การจัดการความเสี่ยงในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ |
2.1 | มีกระบวนการประเมินและให้คะแนนความเสี่ยงของระบบสารสนเทศอย่างเป็นระบบ โดยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย |
2.2 | มีแผนจัดการความเสี่ยงเป็นลายลักษณ์อักษร โดยกำหนดกลยุทธ์โครงการ ระยะเวลาดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ อย่างชัดเจน |
2.3 | มีการดำเนินการตามแผนจัดการความเสี่ยง |
2.4 | มีการติดตาม ประเมินผลการดำเนินการจัดการความเสี่ยง และวิเคราะห์ผลการประเมิน จัดทำเป็นรายงาน |
2.5 | มีการนำผลการประเมินการดำเนินการจัดการความเสี่ยงมาปรับแผนการจัดการความเสี่ยงให้ดีขึ้น |
3 | การจัดการความมั่นคงปลอดภัยในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ |
3.1 | มีการจัดทำนโยบายและระเบียบปฏิบัติด้านความมั่นคงปลอดภัยในระบบ IT |
3.2 | มีนโยบายและระเบียบปฏิบัติที่อนุญาตให้เฉพาะผู้ที่รับผิดชอบดูแลรักษาผู้ป่วยในช่วงเวลาปัจจุบันเท่านั้นที่จะเข้าถึงข้อมูลผู้ป่วยรายนั้นได้ |
3.3 | มีนโยบายและระเบียบปฏิบัติที่ป้องกันความลับผู้ป่วยมิให้รั่วไหลทุกช่องทาง รวมทั้งช่องทาง Social Media ทุกด้าน |
3.4 | มีการประชาสัมพันธ์นโยบายและระเบียบปฏิบัติให้บุคลากรทุกคนได้รับทราบ |
3.5 | มีการตรวจสอบว่าบุคลากรได้รับทราบ เข้าใจ ยอมรับ และปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติด้านความมั่นคงปลอดภัยอย่างเคร่งครัด |
3.6 | มีการประเมินผลการปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติและนำผลการประเมินมาปรับกระบวนการบังคับใช้ระเบียบปฏิบัติต่อไป |
4 | การจัดการศักยภาพของทรัพยากรในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ |
4.1 | มีการวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันและ Gap Analysis ของทรัพยากรด้าน Hardware, Software, Network, บุคลากร |
4.2 | มีการจัดทำแผนเพิ่มหรือจัดการศักยภาพของทรัพยากร ด้าน Hardware, Software, Network |
4.3 | มีการกำหนดสมรรถนะตามบทบาทหน้าที่ที่จำเป็น (Functional Competency) ของบุคลากรด้าน IT ทุกคน ประเมินสมรรถนะตามบทบาทหน้าที่ และจัดทำแผนเพิ่มสมรรถนะรายบุคคล |
4.4 | มีการดำเนินการตามแผนเพิ่มสมรรถนะและศักยภาพ (Hardware, software, network) และ มีการประเมิน วิเคราะห์ผลการดำเนินตามแผน |
4.5 | มีการนำผลการวิเคราะห์มาปรับปรุงแผนเพิ่มศักยภาพให้ดีขึ้น |
5 | การจัดการห้อง Data Center |
5.1 | มีการจัดการ Data Center ของโรงพยาบาลให้มีความมั่นคงปลอดภัย |
5.2 | ห้อง สถานที่ และสิ่งแวดล้อมต้องจัดให้มีความปลอดภัยจากบุคคลภายนอก |
5.3 | มีระบบป้องกันอัคคีภัย ได้แก่ ระบบตรวจจับควัน ระบบเตือนภัย เครื่องดับเพลิงและระบบดับเพลิงอัตโนมัติ |
5.4 | มีระบบป้องกันความเสียหายของข้อมูลและระบบ ซึ่งรวมถึง ระบบไฟฟ้าสำรอง (UPS) ระบบ RAID, Redundant Power supply, Redundant Server |
5.5 | มีการวิเคราะห์ความเหมาะสม มาตรฐาน ความเสี่ยงและความคุ้มค่าในการเลือกใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เครือข่าย ห้อง Data Center |
เอกสารประกอบการบรรยาย องค์ความรู้ด้านวิชาการ มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ 9 ด้าน
๑.. คู่มือการใช้งานสำหรับสถานพยาบาล
๒. คู่มือการใช้งานสำหรับผู้ตรวจประเมิน
MOIT 1 หน่วยงานมีการกำหนดมาตรการ และวางระบบการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็ปไซต์หน่วยงาน
1. คำสั่ง/กรอบแนวทาง
1.1 มีบันทึกข้อความลงนามคำสั่ง และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
1.2 มีคำสั่ง มาตรการ กลไก หรือระบบในการดำเนินการกำหนดให้มีการเผยแพร่ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานโดยผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน Download
1.3 กรอบนาวทางการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็ปไซต์ของหน่วยงาน รายละเอียดเนื้อหาในข้อ 2) ข้อ2.1 ถึงข้อ 2.3 Download
1.4 มีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. รายงานผลการติดตามการดำเนินงาน และสรุปปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน โดยผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน ต้องเป็นรายงานของปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
2.1 บันทึกข้อความลงนามคำสั่ง และปรากฏการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2.2 มีรายงานผลการติดตามการดำเนินงานติดตามการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานในปีที่ผ่านมา ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 Download
2.3 มีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 2 หน่วยงานมีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่เป็นปัจจุบัน Download
1 ข้อมูลพื้นฐานที่เป็นปัจจุบัน ประกอบด้วย Download
1.1 ข้อมูลผู้บริหาร แสดงรายนามของผู้บริหารของหน่วยงาน ประกอบด้วย ชื่อ-นามสกุล ตำแหน่ง รูปถ่าย หมายเลขโทรศัพท์ Download
1.2 นโยบาลของผู้บริหาร Download
1.3 โครงสร้างหน่วยงาน Download
1.4 หน้าที่และอำนาจของหน่วยงานตามกฏหมายจัดตั้ง หรือกฏหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง Download
1.5 กฏหมายที่เกี่ยวข้อกับการดำเนินงาน หรือการปฏิบัติของหน่วยงาน Download Download Download
1.6 ข่าวประชาสัมพันธ์ ที่แสดงข้อมูลช่าวสารที่เกี่ยวกับการดำเนินงานตามหน้าที่และอำนาจ และภารกิจของหน่วยงาน และเป็นข้อมูลข่าวสารในงบประมาณ พ.ศ.2565
1.7 ข้อมูลการติดต่อ ประกอบด้วย ที่อยู่หน่วยงาน หมายเลขโทรศัพท์ หมายเลขโทรสาร ที่อยู่ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ แผนที่ตั้งหน่วยงาน Download
1.8 ช่องทางการรับฟังคำคิดเห็น ที่บุคคลภายนอกสามารถแสดงความคิดเห็นต่อการดำเนินงานตามหน้าที่และอำนาจตามภาระกิจของหน่วยงาน Download
2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม MOPH Download
3 พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 Download
4 ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2552 Download
5 ข้อกำหนดจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2564 Download
6 อินโฟกราฟฟิกคณะกรรมการจริยธรรม ประจำสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ชุดปัจจุบัน Download
7 ยุทธศาสตร์ของประเทศ โดยรวม Download
8 นโยบายและยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน Download
9 แผนปฏิบัติการประจำปีของหน่วยงาน และการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีของหน่วยงาน (แผนปฏิบัติการประจำปีของหน่วยงาน ทุกแผน) Download Download Download
10 แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีของหน่วยงาน และการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีของหน่วยงาน Download Download Download
11 คู่มือปฏิบัติงานการร้องเรียนเรื่องการปฏิบัติงาน หรือการให้บริการของเจ้าหน้าที่ Download
12 คู่มือปฏิบัติงานการร้องเรียนเรื่องการทุจริตและประพฤติมิชอบ Download
13 คู่มือการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักและภารกิจสนับสนุนของหน่วยงาน
-แนวปฏิบัติควบคุมภายใน กรมบัญชีกลาง Download
-แนวปฏิบัติเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดทางเพศในที่ทำงาน Download
14 คู่มือขั้นตอนการให้บริการ (ภารกิจให้บริการประชาชนตามพระราชบัญญัติการอํานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558) (ถ้ามี) Download
15 รายงานผลการดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของเจ้าหน้าที่ Download
16 รายงานผลการดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ Download
17 ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้าง ประกอบด้วย
17.1 การวิเคราะห์ผลการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุประจำปีที่ผ่านมา (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) Download
17.2 แผนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุประจำปี Download
17.3 ผลการดำเนินการตามแผนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุประจำปีประจำปีตามรอบระยะเวลาที่กำหนดในกรอบแนวทาง Download
17.4 ประกาศสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยแนวทางปฏิบัติงานเพื่อตรวจสอบบุคลากรในหน่วยงานด้านการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560 และแบบแสดงความบริสุทธิ์ใจในการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานในการเปิดเผย ข้อมูลความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของหัวหน้าเจ้าหน้าที่ Download
17.5 แบบสรุปผลการจัดหาพัสดุในแต่ละรอบเดือน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (แบบ สขร. 1) Download
MOIT 3 หน่วยงานมีรายการวิเคราะห์ผลการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ประจำปีงบ 2564
1. บันทึกข้อความเสนอรายงานผู้บริหารรับทราบ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. รายงานการวิเคราะห์ผลการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีลักษณะเป็นรูปเล่มรายงาน โดยต้องนำเสนอข้อมูลการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ตามข้อ 2. ครบทั้ง 4 องค์ประกอบ คือ(1) การวิเคราะห์ความเสี่ยง (2) การวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค / ข้อจำกัด (3) การวิเคราะห์ความสามารถในการประหยัดงบประมาณ และ (4) แนวทางแก้ไขและปรับปรุงกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ อันจะนำไปสู่ การปรับปรุงการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 Download
3. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 4 หน่วยงานวางระบบเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565
ข้อ1 ประกาศเผยแพร่แผนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ประจำปีของหน่วยงาน ภายใน 30 วันทำการ
ระบุวันที่ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณในช่องคำอธิบายชี้แจงประกอบหลักฐาน วันที่ที่ได้ทำการประกาศเผยแพร่ให้ชัดเจน
1 มีบันทึกข้อความรายงานผู้บริหารรับทราบ และ มีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2 มีหนังสือจัดสรรงบประมาณ Download
3 มีแผนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 (งบดำเนินการ และงบลงทุน) Download
4 มีคำสั่งมอบหมายการปิดประกาศ หรือปลดประกาศ Download
5 แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
ข้อ2 รายงานผลของแผนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุประจำปีของหน่วยงาน ตามรอบระยะเวลาที่กำหนด (งบลงทุน ทุกไตรมาส และงบดำเนินงาน ทุกไตรมาส)
1 มีบันทึกข้อความรายงานผู้บริหารรับทราบ และ มีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2 มีรายงานผลการดำเนินการตามแผนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 Download
2.1 งบลงทุน ทุกไตรมาส Download
2.2 งบดำเนินงาน ทุกไตรมาส Download
3 แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
ข้อ3. การป้องกันผู้ที่มีหน้าที่ดำเนินการในการจัดซื้อจัดจ้างเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับผู้ยื่นข้อเสนอหรือคู่สัญญา
1 มีบันทึกข้อความแจ้งเวียนประกาศสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยแนวทางปฏิบัติงานเพื่อตรวจสอบบุคลากรในหน่วยงานด้านการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560 และ มีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2 มีประกาศสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยแนวทางปฏิบัติงานเพื่อตรวจสอบบุคลากรในหน่วยงานด้านการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560 ลงวันที่ 12 ตุลาคม 2560 และแบบแสดงความบริสุทธิ์ใจในการจัดซื้อจัดจ้างของ หน่วยงานในการเปิดเผยข้อมูลความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของหัวหน้าเจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ และผู้ตรวจรับพัสดุ จำนวน 2 แบบ คือ วงเงินเล็กน้อยไม่เกิน 100,000 บาท และวงเงินเกิน 100,000 บาท) Download
3 แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 5 หน่วยงานมีการสรุปผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
ไตรมาส 1
1. มีบันทึกข้อความรายงานผู้บริหารรับทราบ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน
2. มีแบบสรุปผลการจัดหาพัสดุในแต่ละรอบเดือน (แบบ สขร. 1) ไตรมาสที่ 1
ตค.64 Download
พย.64 Download
ธค.64 Download
3. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน
ไตรมาส 2
1. มีบันทึกข้อความรายงานผู้บริหารรับทราบ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน
2. มีแบบสรุปผลการจัดหาพัสดุในแต่ละรอบเดือน (แบบ สขร. 1) ไตรมาสที่ 2
มค.65 Download
กพ.65 Download
มีค.65 Download
3. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน
ไตรมาส 3
1. มีบันทึกข้อความรายงานผู้บริหารรับทราบ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน
2. มีแบบสรุปผลการจัดหาพัสดุในแต่ละรอบเดือน (แบบ สขร. 1) ไตรมาสที่ 3
เมย.65 Download
พค.65 Download
มิย.65 Download
3. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน
ไตรมาส 4
1. มีบันทึกข้อความรายงานผู้บริหารรับทราบ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน
2. มีแบบสรุปผลการจัดหาพัสดุในแต่ละรอบเดือน (แบบ สขร. 1) ไตรมาสที่ 4
กค.65 Download
สค.65 Download
กย.65 Download
3. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน
MOIT 6 ผู้บริหารแสดงนโยบายการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
1. บันทึกข้อความลงนามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลของผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน ประจำปีงบ 2565 และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลของผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน และเป็นนโยบายที่ใช้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 Download
3. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
แผนการบริหารทรัพยากรบุคคล
1. บันทึกข้อความลงนามแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน ประจำปีงบ 2565 และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. แผนการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน ประจำปีงบ 2565 Download
3. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 7 หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาบุคลากร
1. บันทึกข้อความลงนามคำสั่ง หรือประกาศมาตรการการบริหารผลการปฏิบัติงานและการดำเนินการกับเจ้าหน้าที่ผู้มีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานต่ำ และปรากฏการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. คำสั่ง หรือประกาศมาตรการการบริหารผลการปฏิบัติงานและการดำเนินการกับเจ้าหน้าที่ผู้มีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานต่ำ (เป็นเอกสารแนบข้อ 1.) Download
3. กรอบแนวทางการบริหารผลการปฏิบัติงานและการดำเนินการกับเจ้าหน้าที่ผู้มีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานต่ำ ตามข้อ 2. (องค์ประกอบตามข้อ 2.1 ถึงข้อ 2.4) Download
4. หลักฐานการประชุมชี้แจงทำความเข้าใจให้ทราบทั่วทั้งองค์กรของปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 Download
5. หลักฐานหนังสือแจ้งเวียน ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 Download
MOIT 8 หน่วยงานมีการรายงานการประเมินและเกี่ยวกับการประเมินผลการปฎิบัติราชการประจำปี ของบุคคลในหน่วยงานและการเปิดเผยผลการปฎิบัติราชการ ระดับดีเด่นและระดับดีมาก ในที่เปิดเผยให้ทราบ รอบปีงบประมาณที่ผ่านมาและรอบปีงบประมาณ
ไตรมาส2 รอบ2 ปีงบ 2564 (1เมย.64-30กย.64 )
1. บันทึกข้อความลงนามในประกาศผลการปฏิบัติราชการประจำปีของบุคลากรในหน่วยงาน ระดับดีเด่น และดีมาก (ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ ลูกจ้างชั่วคราว และ พนักงานกระทวงสาธารณสุข)และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. ประกาศรายงานการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีของบุคลากรในหน่วยงาน ระดับดีเด่น และดีมาก (ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ ลูกจ้างชั่วคราว และ พนักงานกระทวงสาธารณสุข) Download
3. หลักฐานประกาศรายงานการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีของบุคลากรในหน่วยงาน ระดับดีเด่น และดีมาก รอบปีงบประมาณที่ผ่านมา Download
4. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
ไตรมาส3 รอบ1 ปีงบ 2565 (1ตค.64-31มีค.65 )
1.บันทึกข้อความลงนามในประกาศผลการปฏิบัติราชการประจำปีของบุคลากรในหน่วยงาน ระดับดีเด่น และดีมาก(ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ ลูกจ้างชั่วคราว และ พนักงานกระทวงสาธารณสุข)และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. ประกาศรายงานการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีของบุคลากรในหน่วยงาน ระดับดีเด่น และดีมาก (ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ ลูกจ้างชั่วคราว และ พนักงานกระทวงสาธารณสุข) Download
3. หลักฐานประกาศรายงานการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีของบุคลากรในหน่วยงาน ระดับดีเด่น และดีมาก รอบปีงบประมาณที่ผ่านมา Download
4. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 9 หน่วยงานมีการอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงาน เกี่ยวกับการเสริมสร้างและพัฒนาทางด้านจริยธรรมและการรักษาวินัย พร้อมทั้งการป้องกันมิให้กระทำผิดวินัย
1. หลักฐานการอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานเกี่ยวกับการเสริมสร้างและพัฒนาทางด้านจริยธรรมและการมีวินัยรวมทั้งการป้องกันมิให้กระทำผิดวินัย และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน
1.1 บันทึกข้อความขออนุมัติดำเนินโครงการ Download
1.2 โครงการ Download
2. รายชื่อผู้ร่วมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเสริมสร้างและพัฒนาทางด้านจริยธรรมและการรักษาวินัย พร้อมทั้งการป้องกันมิให้กระทำผิดวินัย Download
3. บันทึกข้อความเสนอผู้บริหารเพื่อรับทราบรายงานการอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานเกี่ยวกับการเสริมสร้างและพัฒนาทางด้านจริยธรรมและการมีวินัยรวมทั้งการป้องกันมิให้กระทำผิดวินัย และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
4. รายงานการอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานเกี่ยวกับการเสริมสร้างและพัฒนาทางด้านจริยธรรมและการมีวินัยรวมทั้งการป้องกันมิให้กระทำผิดวินัย Download
5. ภาพกิจกรรมที่ระบุวัน เวลา สถานที่จัดกิจกรรม Download
6. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 10 หน่วยงานมีแนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียน และช่องทางการร้องเรียน
1. มีคู่มือการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของเจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงาน และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. มีคู่มือปฏิบัติงานการรับเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
3. หลักฐานที่แสดงถึงช่องทางการร้องเรียน อาทิ ผ่านระบบหมายเลขโทรศัพท์ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต ผ่านระบบไปรษณีย์ ผ่าน Application หรือช่องทางอื่น ๆ ที่หน่วยงานกำหนดตามความเหมาะสม Download
4.แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 11 หน่วยงานมีการตอบสนองต่อเรื่องร้องเรียน และข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียน
ไตรมาส 2
1. บันทึกข้อความรายงานผลการดำเนินงานเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนให้ผู้ร้องเรียนทราบ ภายใน 15 วันและมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน รอบ 6 เดือน 1ตค.65-31มีค.64 Download
2. บันทึกรายงานสรุปผลการดำเนินการเรื่องร้องเรียน ที่มีการวิเคราะห์ปัญหา /อุปสรรค และแนวทางแก้ไข เสนอผู้บริหารรับทราบ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
3. มีรายงานสรุปผลการดำเนินการเรื่องร้องเรียน ที่มีการวิเคราะห์ปัญหา /อุปสรรค และแนวทางแก้ไขรอบ 6 เดือน 1ตค.65-31มีค.64 Download
3.1 สรุปผลการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของเจ้าหน้าที่ Download
3.2 สรุปผลการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ Download
4. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
ไตรมาส 4
1.บันทึกข้อความรายงานผลการดำเนินงานเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนให้ผู้ร้องเรียนทราบ ภายใน 15 วันและมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน รอบ 12 เดือน 1เมย.65-31 สค.65 Download
2. บันทึกรายงานสรุปผลการดำเนินการเรื่องร้องเรียน ที่มีการวิเคราะห์ปัญหา /อุปสรรค และแนวทางแก้ไข เสนอผู้บริหารรับทราบ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน
3. มีรายงานสรุปผลการดำเนินการเรื่องร้องเรียน ที่มีการวิเคราะห์ปัญหา /อุปสรรค และแนวทางแก้ไขรอบ 12 เดือน 1เมย.65-31 สค.65Download
3.1 สรุปผลการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของเจ้าหน้าที่ Download
3.2 สรุปผลการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ Download
4.แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 12 หน่วยงานของท่านเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีโอกาสเข้ามามีสร่วนร่วมในการดำเนินงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน
1. มีหลักฐานการการจัดโครงการ / กิจกรรม ที่เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามภารกิจของหน่วยงาน ที่ดำเนินการตั้งแต่ 1 ตค.64 – 31 สค.65
1.1 บันทึกข้อความขออนุมัติดำเนินโครงการ และปรากฏการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
1.2 โครงการ / กิจกรรม Download
2. มีรายงานประชุมโครงการ / กิจกรรมที่แสดงชื่อผู้ใช้บริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มาร่วมวางแผน และร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตามภารกิจที่เลือก ที่ผู้บริหารรับทราบ(มีการแสดงชื่อของผู้จดรายงานการประชุม รวมทั้งมีชื่อผู้เข้าร่วมการประชุม ชัดเจน) Download
3. มีรายงานประชุมโครงการ / กิจกรรมที่แสดงชื่อผู้ใช้บริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มาร่วมในการดำเนินการ ตามภารกิจที่เลือก ที่ผู้บริหารรับทราบ (มีการแสดงชื่อของผู้จดรายงานการประชุม รวมทั้งมีชื่อผู้เข้าร่วมการประชุม ชัดเจน) Download
4. มีรายงานการติดตามประเมินผลโครงการ / กิจกรรม ตามภารกิจที่เลือก ที่ผู้บริหารรับทราบ Download
5. ภาพกิจกรรม ที่ระบุวัน เวลา สถานที่จัดกิจกรรมที่ชัดเจน Download
6. มีบันทึกข้อความรายงานผู้บริหารรับทราบ สั่งการ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
7. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 13 หน่วยงานมีการกำหนดมาตรการและระบบในการป้องกันการรับสินบน
ไตรมาส 2 หรือ 3
1.บันทึกข้อความลงนามคำสั่ง ประกาศ หรือข้อสั่งการ และปรากฏการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2.คำสั่ง ประกาศ หรือข้อสั่งการ มาตรการการป้องกันการรับสินบนทุกรูปแบบตามข้อมูลประกอบ ประเด็นข้อ1 – 6 ตามที่หน่วยงานกำหนด ที่มีการกำหนดกลไกการกำกับติดตาม Download
3. หลักฐานหนังสือแจ้งเวียน Download
4. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
ไตรมาส 4
1. บันทึกข้อความรับทราบ และรายงานสรุปผลการกำกับติดตาม ประกาศมาตรการการป้องกันการรับสินบนทุกรูปแบบ Download
2. มีรายงานสรุปผลการกำกับติดตาม ประกาศมาตรการการป้องกันการรับสินบนทุกรูปแบบ Download
3. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 14 หน่วยงานมีการกำหนดมาตรการและระบบในการป้องกันการรับสินบน ในกระบวนการเบิกจ่ายตามสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ
ไตรมาส 2 หรือ 3
1.มีบันทึกข้อความลงนามคำสั่ง หรือประกาศ เรื่อง แนวทางปฏิบัติ ฯ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา และการส่งเสริมการขายยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา ของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2564 และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2.มีคำสั่ง หรือประกาศเรื่อง แนวทางปฏิบัติ ฯ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา และการส่งเสริมการขายยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา ของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2564 ที่มีการกำหนดกลไกการกำกับติดตาม ตามที่หน่วยงานกำหนด Download
3. หลักฐานหนังสือแจ้งเวียน Download
4. ประกาศเจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร Download
5. ภาพกิจกรรม ที่ระบุวัน เวลา สถานที่จัดกิจกรรมที่ชัดเจน Download
6. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
ไตรมาส 4
1 บันทึกข้อความรับทราบ และรายงานสรุปผลการกำกับติดตาม ประกาศเรื่อง แนวทางปฏิบัติ ฯตามที่หน่วยงานกำหนด Download
2 มีรายงานสรุปผลการกำกับติดตาม แนวทางปฏิบัติ ฯตามที่หน่วยงานกำหนด Download
3 แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 15 หน่วยงานมีการจัดทำแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ทรัพย์สินของทางราชที่ถูกต้อง ขั้นตอนการขออนุญาตเพื่อยืมทรัพย์สินของราชการไปใช้ปฏิบัติในหน่วยงาน
1. บันทึกข้อความลงนามข้อสั่งการอย่างเป็นทางการ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการยืมพัสดุประเภทใช้คงรูป ระหว่างหน่วยงานของรัฐ ยืมใช้ภายในสถานที่ของหน่วยงานของรัฐเดียวกัน และการยืมไปใช้นอกสถานที่ของหน่วยงานของรัฐ ที่มีผังกระบวนการยืมพัสดุประเภทคงรูปของเจ้าหน้าที่รัฐของหน่วยงาน และแบบฟอร์มการยืมพัสดุประเภทใช้คงรูป ที่มีกลไกการกำกับติดตาม Download
3. มีแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการยืมพัสดุประเภทใช้สิ้นเปลือง ระหว่างหน่วยงานของรัฐที่มีผังกระบวนการยืมพัสดุประเภทใช้สิ้นเปลืองของเจ้าหน้าที่รัฐของหน่วยงาน และแบบฟอร์มการยืมพัสดุประเภทใช้สิ้นเปลือง ที่มีกลไกการ กำกับติดตาม Download
4. หนังสือแจ้งเวียนแนวปฏิบัติตามข้อ 2. และข้อ 3. Download
5. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 16 หน่วยงานมีแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ และแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรม ประจำปีของหน่วยงาน
1.แผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ของหน่วยงาน ประจำปีของหน่วยงาน
1. มีบันทึกข้อความเสนอผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน เพื่อขอความเห็นชอบอนุมัติและลงนามในแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามทุจริตและประพฤติมิชอบของหน่วยงาน ประจำปี และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. มีแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ของหน่วยงาน ประจำปี Download
3.แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2.แผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรม ของหน่วยงาน ประจำปีของหน่วยงาน
1. มีบันทึกข้อความเสนอผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน เพื่อขอความเห็นชอบอนุมัติและลงนามในแผนปฏิบัติการการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรมของหน่วยงาน ประจำปี และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download Download
2. มีแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรมของหน่วยงาน ประจำปี Download
3. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 17 หน่วยงานมีรายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปีของหน่วยงาน และแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรม ประจำปีของหน่วยงาน Download
ไตรมาส 2
1. การกำกับติดตามการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
1. มีบันทึกข้อความเสนอผู้บริหารเพื่อทราบ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. รายงานผลการกำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รอบ 6 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 ตค.64 - 30 มี.ค.65 Download
3. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. การกำกับติดตามการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรมของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
1. มีบันทึกข้อความเสนอผู้บริหารเพื่อทราบ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. รายงานผลการกำกับติดตามการดำเนินการตามข้อกำหนดของคู่มือการขับเคลื่อนชมรมจริยธรรมของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รอบ 6 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 ตค.64 - 16 มี.ค.65ตามแบบฟอร์มการรายงานและการติดตามประเมินผล ฯ(แบบฟอร์มที่ 2 และแบบฟอร์มที่ 3) และจัดส่งตามปฏิทินที่กำหนดในคู่มือ ฯ ทุกประการDownload
3. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
ไตรมาส 4
1. การกำกับติดตามการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
1 มีบันทึกข้อความเสนอผู้บริหารเพื่อทราบ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2 รายงานผลการกำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565รอบ 12 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 เมย.65 - 30 ส.ค.65 Download
3 แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. การกำกับติดตามการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรมของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
1 มีบันทึกข้อความเสนอผู้บริหารเพื่อทราบ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2 รายงานผลการกำกับติดตามการดำเนินการตามข้อกำหนดของคู่มือการขับเคลื่อนชมรมจริยธรรมของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รอบ 12 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 เมย.65 - 30 ส.ค.65
ตามแบบฟอร์มการรายงานและการติดตามประเมินผล ฯ (แบบฟอร์มที่ 2 และแบบฟอร์มที่ 3) และจัดส่งตามปฏิทินที่กำหนดในคู่มือ ฯ ทุกประการ Download
3 แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 18 หน่วยงานมีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน
1. หนังสือแสดงหลักฐานการจัดการประชุมเพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน ประจำปีงบ 2565 Download
2. สรุปผลการประชุมเพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน ประจำปีงบ 2565 Download
3. รายงานการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน และแนบแบบรายงานประเมินความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน (ที่จัดทำเป็นรูปเล่มรายงาน) Download
4. หนังสือเสนอผู้บริหารเพื่อทราบ และสั่งการ ปรากฏการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
5. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 19 หน่วยงานมีการกำหนดมาตรการเพื่อจัดการความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน และมีการรวมกลุ่มในนามชมรม STRONG
มาตรการเพื่อจัดการความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน
1. มีบันทึกข้อความลงนามคำสั่ง / ข้อสั่งการ / ประกาศ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. มีแนวการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน เพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน ที่มีความสอดคล้องตามบทวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน ที่ได้จากข้อ 18 Download
3. หลักฐานหนังสือแจ้งเวียน Download
4. บันทึกข้อความรับทราบการกำกับติดตาม และรายงานผลการดำเนินงานตามแนวการปฏิบัติเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน อย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน Download
5.แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
การรวมกลุ่มในนามชมรม STRONG
1 มีแนวทางการดำเนินกิจกรรมของชมรม Download
2 มีรายชื่อสมาชิกของชมรม Download
3 มีกิจกรรมการดำเนินงานของชมรม Download
4 แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 20 หน่วยงานมีการรายงานผลการส่งเสริมการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน -กรณีการเรี่ยไร และกรณีการให้หรือรับของขวัญหรือประโยชน์อื่นใด ประจำปีงบ 2565
1 มีบันทึกข้อความรับทราบรายงานการเรี่ยไร การให้และการรับของขวัญหรือประโยชน์อื่นใด และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2 มีรายงานการเรี่ยไร การให้และการรับของขวัญหรือประโยชน์อื่นใด (จากระบบ MSRS)
รอบ 6 เดือน ภายใน 15 มีค.65 Download
รอบ 12 เดือน ภายใน 31 สค.65 Download
3 แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 21 หน่วยงานมีการอบรมให้ความรู้ภายในหน่วยงาน เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน โดยใช้หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา
1. มีหลักฐานการอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน โดยใช้หลักสูตรต้านทุจริตศึกษาแก่บุคลากรในหน่วยงาน และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน
1.1 บันทึกข้อความขออนุมัติดำเนินโครงการ Download
1.2 โครงการ Download
2. รายชื่อผู้เข้าร่วมการอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน โดยใช้หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา แก่บุคลากรในหน่วยงาน Download
3. บันทึกข้อความเสนอผู้บริหารเพื่อรับทราบ รายงานการอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน โดยใช้หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา แก่บุคลากรในหน่วยงาน และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
4. มีรายงานการอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน โดยใช้หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา แก่บุคลากรในหน่วยงาน Download
5. ภาพกิจกรรมที่ระบุวัน เวลา สถานที่จัดกิจกรรม Download
แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 22 หน่วยงานมีการเผยแพร่เจตจำนงสุจริตของผู้บริหารต่อสาธารณชน
1 บันทึกข้อความลงนามประกาศเจตจำนงสุจริตของผู้บริหารสูงสุด และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2 ประกาศเจตจำนงสุจริตของผู้บริหารสูงสุด (เนื้อหา 2 ประเด็น) Download
3 มีกิจกรรมประกาศเจตจำนงสุจริตของผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน ต่อสาธารณชน ดำเนินการตั้งแต่ไตรมาส 1 – 2 ( ตั้งแต่เดือน ตค.64 – 30 มีค.65 ) Download
4. ภาพกิจกรรม ที่มีการระบุวัน เวลา สถานที่จัดโครงการ / กิจกรรม Download
5 แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 23 หน่วยงานมีนโยบายและแนวปฏิบัติที่เคารพสิทธิมนุษยชนและศักดิ์ศรีของผู้ปฏิบัติงาน มาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิด หรือคุกคามทางเพศในการทำงาน
ไตรมาส 2
1. มีบันทึกข้อความลงนามประกาศเจตนารมณ์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิด หรือคุกคามทางเพศในการทำงาน ดำเนินการให้เสร็จสิ้นในไตรมาสที่ 1-2 (ระยะเวลาเดือนตุลาคม 2564 - มีนาคม 2565) Download
2. ประกาศเจตนารมณ์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในการทำงาน Download
3. คู่มือแนวปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในการทำงานของหน่วยงาน Download
4. บันทึกข้อความแจ้งเวียนประกาศเจตนารมณ์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในการทำงาน และคู่มือแนวปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในการทำงานของหน่วยงาน Download
แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
ไตรมาส 4
1.มีบันทึกข้อความรับทราบ รายงานการกำกับติดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในการทำงานของหน่วยงาน
ตามแบบรายงานที่กำหนดดำเนินการให้เสร็จสิ้นในไตรมาสที่ 4 และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2.Print Screen หน้าจอผ่านระบบ MSRS Download
3.แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 1 หน่วยงานมีการกำหนดมาตรการ และวางระบบการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็ปไซต์หน่วยงาน
1. คำสั่ง/กรอบแนวทาง
1.1 มีบันทึกข้อความลงนามคำสั่ง และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
1.2 มีคำสั่ง มาตรการ กลไก หรือระบบในการดำเนินการกำหนดให้มีการเผยแพร่ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานโดยผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน Download
1.3 กรอบนาวทางการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็ปไซต์ของหน่วยงาน รายละเอียดเนื้อหาในข้อ 2) ข้อ2.1 ถึงข้อ 2.3 Download
1.4 มีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. รายงานผลการติดตามการดำเนินงาน และสรุปปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน โดยผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน ต้องเป็นรายงานของปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
2.1 บันทึกข้อความลงนามคำสั่ง และปรากฏการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2.2 มีรายงานผลการติดตามการดำเนินงานติดตามการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานในปีที่ผ่านมา ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 Download
2.3 มีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 2 หน่วยงานมีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่เป็นปัจจุบัน Download
1 ข้อมูลพื้นฐานที่เป็นปัจจุบัน ประกอบด้วย Download
1.1 ข้อมูลผู้บริหาร แสดงรายนามของผู้บริหารของหน่วยงาน ประกอบด้วย ชื่อ-นามสกุล ตำแหน่ง รูปถ่าย หมายเลขโทรศัพท์ Download
1.2 นโยบาลของผู้บริหาร Download
1.3 โครงสร้างหน่วยงาน Download
1.4 หน้าที่และอำนาจของหน่วยงานตามกฏหมายจัดตั้ง หรือกฏหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง Download
1.5 กฏหมายที่เกี่ยวข้อกับการดำเนินงาน หรือการปฏิบัติของหน่วยงาน Download Download Download
1.6 ข่าวประชาสัมพันธ์ ที่แสดงข้อมูลช่าวสารที่เกี่ยวกับการดำเนินงานตามหน้าที่และอำนาจ และภารกิจของหน่วยงาน และเป็นข้อมูลข่าวสารในงบประมาณ พ.ศ.2565
1.7 ข้อมูลการติดต่อ ประกอบด้วย ที่อยู่หน่วยงาน หมายเลขโทรศัพท์ หมายเลขโทรสาร ที่อยู่ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ แผนที่ตั้งหน่วยงาน Download
1.8 ช่องทางการรับฟังคำคิดเห็น ที่บุคคลภายนอกสามารถแสดงความคิดเห็นต่อการดำเนินงานตามหน้าที่และอำนาจตามภาระกิจของหน่วยงาน Download
2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม MOPH Download
3 พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 Download
4 ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2552 Download
5 ข้อกำหนดจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2564 Download
6 อินโฟกราฟฟิกคณะกรรมการจริยธรรม ประจำสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ชุดปัจจุบัน Download
7 ยุทธศาสตร์ของประเทศ โดยรวม Download
8 นโยบายและยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน Download
9 แผนปฏิบัติการประจำปีของหน่วยงาน และการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีของหน่วยงาน (แผนปฏิบัติการประจำปีของหน่วยงาน ทุกแผน) Download Download Download
10 แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีของหน่วยงาน และการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีของหน่วยงาน Download Download Download
11 คู่มือปฏิบัติงานการร้องเรียนเรื่องการปฏิบัติงาน หรือการให้บริการของเจ้าหน้าที่ Download
12 คู่มือปฏิบัติงานการร้องเรียนเรื่องการทุจริตและประพฤติมิชอบ Download
13 คู่มือการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักและภารกิจสนับสนุนของหน่วยงาน
-แนวปฏิบัติควบคุมภายใน กรมบัญชีกลาง Download
-แนวปฏิบัติเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดทางเพศในที่ทำงาน Download
14 คู่มือขั้นตอนการให้บริการ (ภารกิจให้บริการประชาชนตามพระราชบัญญัติการอํานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558) (ถ้ามี) Download
15 รายงานผลการดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของเจ้าหน้าที่ Download
16 รายงานผลการดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ Download
17 ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้าง ประกอบด้วย
17.1 การวิเคราะห์ผลการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุประจำปีที่ผ่านมา (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) Download
17.2 แผนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุประจำปี Download
17.3 ผลการดำเนินการตามแผนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุประจำปีประจำปีตามรอบระยะเวลาที่กำหนดในกรอบแนวทาง Download
17.4 ประกาศสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยแนวทางปฏิบัติงานเพื่อตรวจสอบบุคลากรในหน่วยงานด้านการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560 และแบบแสดงความบริสุทธิ์ใจในการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานในการเปิดเผย ข้อมูลความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของหัวหน้าเจ้าหน้าที่ Download
17.5 แบบสรุปผลการจัดหาพัสดุในแต่ละรอบเดือน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (แบบ สขร. 1) Download
MOIT 3 หน่วยงานมีรายการวิเคราะห์ผลการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ประจำปีงบ 2564
1. บันทึกข้อความเสนอรายงานผู้บริหารรับทราบ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. รายงานการวิเคราะห์ผลการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีลักษณะเป็นรูปเล่มรายงาน โดยต้องนำเสนอข้อมูลการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ตามข้อ 2. ครบทั้ง 4 องค์ประกอบ คือ(1) การวิเคราะห์ความเสี่ยง (2) การวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค / ข้อจำกัด (3) การวิเคราะห์ความสามารถในการประหยัดงบประมาณ และ (4) แนวทางแก้ไขและปรับปรุงกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ อันจะนำไปสู่ การปรับปรุงการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 Download
3. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 4 หน่วยงานวางระบบเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565
ข้อ1 ประกาศเผยแพร่แผนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ประจำปีของหน่วยงาน ภายใน 30 วันทำการ
ระบุวันที่ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณในช่องคำอธิบายชี้แจงประกอบหลักฐาน วันที่ที่ได้ทำการประกาศเผยแพร่ให้ชัดเจน
1 มีบันทึกข้อความรายงานผู้บริหารรับทราบ และ มีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2 มีหนังสือจัดสรรงบประมาณ Download
3 มีแผนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 (งบดำเนินการ และงบลงทุน) Download
4 มีคำสั่งมอบหมายการปิดประกาศ หรือปลดประกาศ Download
5 แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
ข้อ2 รายงานผลของแผนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุประจำปีของหน่วยงาน ตามรอบระยะเวลาที่กำหนด (งบลงทุน ทุกไตรมาส และงบดำเนินงาน ทุกไตรมาส)
1 มีบันทึกข้อความรายงานผู้บริหารรับทราบ และ มีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2 มีรายงานผลการดำเนินการตามแผนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 Download
2.1 งบลงทุน ทุกไตรมาส Download
2.2 งบดำเนินงาน ทุกไตรมาส Download
3 แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
ข้อ3. การป้องกันผู้ที่มีหน้าที่ดำเนินการในการจัดซื้อจัดจ้างเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับผู้ยื่นข้อเสนอหรือคู่สัญญา
1 มีบันทึกข้อความแจ้งเวียนประกาศสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยแนวทางปฏิบัติงานเพื่อตรวจสอบบุคลากรในหน่วยงานด้านการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560 และ มีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2 มีประกาศสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยแนวทางปฏิบัติงานเพื่อตรวจสอบบุคลากรในหน่วยงานด้านการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560 ลงวันที่ 12 ตุลาคม 2560 และแบบแสดงความบริสุทธิ์ใจในการจัดซื้อจัดจ้างของ หน่วยงานในการเปิดเผยข้อมูลความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของหัวหน้าเจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ และผู้ตรวจรับพัสดุ จำนวน 2 แบบ คือ วงเงินเล็กน้อยไม่เกิน 100,000 บาท และวงเงินเกิน 100,000 บาท) Download
3 แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 5 หน่วยงานมีการสรุปผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
ไตรมาส 1
1. มีบันทึกข้อความรายงานผู้บริหารรับทราบ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน
2. มีแบบสรุปผลการจัดหาพัสดุในแต่ละรอบเดือน (แบบ สขร. 1) ไตรมาสที่ 1
ตค.64 Download
พย.64 Download
ธค.64 Download
3. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน
ไตรมาส 2
1. มีบันทึกข้อความรายงานผู้บริหารรับทราบ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน
2. มีแบบสรุปผลการจัดหาพัสดุในแต่ละรอบเดือน (แบบ สขร. 1) ไตรมาสที่ 2
มค.65 Download
กพ.65 Download
มีค.65 Download
3. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน
ไตรมาส 3
1. มีบันทึกข้อความรายงานผู้บริหารรับทราบ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน
2. มีแบบสรุปผลการจัดหาพัสดุในแต่ละรอบเดือน (แบบ สขร. 1) ไตรมาสที่ 3
เมย.65 Download
พค.65 Download
มิย.65 Download
3. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน
ไตรมาส 4
1. มีบันทึกข้อความรายงานผู้บริหารรับทราบ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน
2. มีแบบสรุปผลการจัดหาพัสดุในแต่ละรอบเดือน (แบบ สขร. 1) ไตรมาสที่ 4
กค.65 Download
สค.65 Download
กย.65 Download
3. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน
MOIT 6 ผู้บริหารแสดงนโยบายการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
1. บันทึกข้อความลงนามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลของผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน ประจำปีงบ 2565 และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลของผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน และเป็นนโยบายที่ใช้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 Download
3. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
แผนการบริหารทรัพยากรบุคคล
1. บันทึกข้อความลงนามแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน ประจำปีงบ 2565 และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. แผนการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน ประจำปีงบ 2565 Download
3. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 7 หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาบุคลากร
1. บันทึกข้อความลงนามคำสั่ง หรือประกาศมาตรการการบริหารผลการปฏิบัติงานและการดำเนินการกับเจ้าหน้าที่ผู้มีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานต่ำ และปรากฏการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. คำสั่ง หรือประกาศมาตรการการบริหารผลการปฏิบัติงานและการดำเนินการกับเจ้าหน้าที่ผู้มีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานต่ำ (เป็นเอกสารแนบข้อ 1.) Download
3. กรอบแนวทางการบริหารผลการปฏิบัติงานและการดำเนินการกับเจ้าหน้าที่ผู้มีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานต่ำ ตามข้อ 2. (องค์ประกอบตามข้อ 2.1 ถึงข้อ 2.4) Download
4. หลักฐานการประชุมชี้แจงทำความเข้าใจให้ทราบทั่วทั้งองค์กรของปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 Download
5. หลักฐานหนังสือแจ้งเวียน ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 Download
MOIT 8 หน่วยงานมีการรายงานการประเมินและเกี่ยวกับการประเมินผลการปฎิบัติราชการประจำปี ของบุคคลในหน่วยงานและการเปิดเผยผลการปฎิบัติราชการ ระดับดีเด่นและระดับดีมาก ในที่เปิดเผยให้ทราบ รอบปีงบประมาณที่ผ่านมาและรอบปีงบประมาณ
ไตรมาส2 รอบ2 ปีงบ 2564 (1เมย.64-30กย.64 )
1. บันทึกข้อความลงนามในประกาศผลการปฏิบัติราชการประจำปีของบุคลากรในหน่วยงาน ระดับดีเด่น และดีมาก (ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ ลูกจ้างชั่วคราว และ พนักงานกระทวงสาธารณสุข)และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. ประกาศรายงานการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีของบุคลากรในหน่วยงาน ระดับดีเด่น และดีมาก (ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ ลูกจ้างชั่วคราว และ พนักงานกระทวงสาธารณสุข) Download
3. หลักฐานประกาศรายงานการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีของบุคลากรในหน่วยงาน ระดับดีเด่น และดีมาก รอบปีงบประมาณที่ผ่านมา Download
4. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
ไตรมาส3 รอบ1 ปีงบ 2565 (1ตค.64-31มีค.65 )
1.บันทึกข้อความลงนามในประกาศผลการปฏิบัติราชการประจำปีของบุคลากรในหน่วยงาน ระดับดีเด่น และดีมาก(ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ ลูกจ้างชั่วคราว และ พนักงานกระทวงสาธารณสุข)และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. ประกาศรายงานการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีของบุคลากรในหน่วยงาน ระดับดีเด่น และดีมาก (ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ ลูกจ้างชั่วคราว และ พนักงานกระทวงสาธารณสุข) Download
3. หลักฐานประกาศรายงานการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีของบุคลากรในหน่วยงาน ระดับดีเด่น และดีมาก รอบปีงบประมาณที่ผ่านมา Download
4. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 9 หน่วยงานมีการอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงาน เกี่ยวกับการเสริมสร้างและพัฒนาทางด้านจริยธรรมและการรักษาวินัย พร้อมทั้งการป้องกันมิให้กระทำผิดวินัย
1. หลักฐานการอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานเกี่ยวกับการเสริมสร้างและพัฒนาทางด้านจริยธรรมและการมีวินัยรวมทั้งการป้องกันมิให้กระทำผิดวินัย และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน
1.1 บันทึกข้อความขออนุมัติดำเนินโครงการ Download
1.2 โครงการ Download
2. รายชื่อผู้ร่วมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเสริมสร้างและพัฒนาทางด้านจริยธรรมและการรักษาวินัย พร้อมทั้งการป้องกันมิให้กระทำผิดวินัย Download
3. บันทึกข้อความเสนอผู้บริหารเพื่อรับทราบรายงานการอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานเกี่ยวกับการเสริมสร้างและพัฒนาทางด้านจริยธรรมและการมีวินัยรวมทั้งการป้องกันมิให้กระทำผิดวินัย และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
4. รายงานการอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานเกี่ยวกับการเสริมสร้างและพัฒนาทางด้านจริยธรรมและการมีวินัยรวมทั้งการป้องกันมิให้กระทำผิดวินัย Download
5. ภาพกิจกรรมที่ระบุวัน เวลา สถานที่จัดกิจกรรม Download
6. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 10 หน่วยงานมีแนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียน และช่องทางการร้องเรียน
1. มีคู่มือการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของเจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงาน และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. มีคู่มือปฏิบัติงานการรับเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
3. หลักฐานที่แสดงถึงช่องทางการร้องเรียน อาทิ ผ่านระบบหมายเลขโทรศัพท์ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต ผ่านระบบไปรษณีย์ ผ่าน Application หรือช่องทางอื่น ๆ ที่หน่วยงานกำหนดตามความเหมาะสม Download
4.แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 11 หน่วยงานมีการตอบสนองต่อเรื่องร้องเรียน และข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียน
ไตรมาส 2
1. บันทึกข้อความรายงานผลการดำเนินงานเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนให้ผู้ร้องเรียนทราบ ภายใน 15 วันและมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน รอบ 6 เดือน 1ตค.65-31มีค.64 Download
2. บันทึกรายงานสรุปผลการดำเนินการเรื่องร้องเรียน ที่มีการวิเคราะห์ปัญหา /อุปสรรค และแนวทางแก้ไข เสนอผู้บริหารรับทราบ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
3. มีรายงานสรุปผลการดำเนินการเรื่องร้องเรียน ที่มีการวิเคราะห์ปัญหา /อุปสรรค และแนวทางแก้ไขรอบ 6 เดือน 1ตค.65-31มีค.64 Download
3.1 สรุปผลการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของเจ้าหน้าที่ Download
3.2 สรุปผลการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ Download
4. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
ไตรมาส 4
1.บันทึกข้อความรายงานผลการดำเนินงานเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนให้ผู้ร้องเรียนทราบ ภายใน 15 วันและมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน รอบ 12 เดือน 1เมย.65-31 สค.65 Download
2. บันทึกรายงานสรุปผลการดำเนินการเรื่องร้องเรียน ที่มีการวิเคราะห์ปัญหา /อุปสรรค และแนวทางแก้ไข เสนอผู้บริหารรับทราบ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน
3. มีรายงานสรุปผลการดำเนินการเรื่องร้องเรียน ที่มีการวิเคราะห์ปัญหา /อุปสรรค และแนวทางแก้ไขรอบ 12 เดือน 1เมย.65-31 สค.65Download
3.1 สรุปผลการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของเจ้าหน้าที่ Download
3.2 สรุปผลการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ Download
4.แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 12 หน่วยงานของท่านเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีโอกาสเข้ามามีสร่วนร่วมในการดำเนินงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน
1. มีหลักฐานการการจัดโครงการ / กิจกรรม ที่เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามภารกิจของหน่วยงาน ที่ดำเนินการตั้งแต่ 1 ตค.64 – 31 สค.65
1.1 บันทึกข้อความขออนุมัติดำเนินโครงการ และปรากฏการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
1.2 โครงการ / กิจกรรม Download
2. มีรายงานประชุมโครงการ / กิจกรรมที่แสดงชื่อผู้ใช้บริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มาร่วมวางแผน และร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตามภารกิจที่เลือก ที่ผู้บริหารรับทราบ(มีการแสดงชื่อของผู้จดรายงานการประชุม รวมทั้งมีชื่อผู้เข้าร่วมการประชุม ชัดเจน) Download
3. มีรายงานประชุมโครงการ / กิจกรรมที่แสดงชื่อผู้ใช้บริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มาร่วมในการดำเนินการ ตามภารกิจที่เลือก ที่ผู้บริหารรับทราบ (มีการแสดงชื่อของผู้จดรายงานการประชุม รวมทั้งมีชื่อผู้เข้าร่วมการประชุม ชัดเจน) Download
4. มีรายงานการติดตามประเมินผลโครงการ / กิจกรรม ตามภารกิจที่เลือก ที่ผู้บริหารรับทราบ Download
5. ภาพกิจกรรม ที่ระบุวัน เวลา สถานที่จัดกิจกรรมที่ชัดเจน Download
6. มีบันทึกข้อความรายงานผู้บริหารรับทราบ สั่งการ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
7. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 13 หน่วยงานมีการกำหนดมาตรการและระบบในการป้องกันการรับสินบน
ไตรมาส 2 หรือ 3
1.บันทึกข้อความลงนามคำสั่ง ประกาศ หรือข้อสั่งการ และปรากฏการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2.คำสั่ง ประกาศ หรือข้อสั่งการ มาตรการการป้องกันการรับสินบนทุกรูปแบบตามข้อมูลประกอบ ประเด็นข้อ1 – 6 ตามที่หน่วยงานกำหนด ที่มีการกำหนดกลไกการกำกับติดตาม Download
3. หลักฐานหนังสือแจ้งเวียน Download
4. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
ไตรมาส 4
1. บันทึกข้อความรับทราบ และรายงานสรุปผลการกำกับติดตาม ประกาศมาตรการการป้องกันการรับสินบนทุกรูปแบบ Download
2. มีรายงานสรุปผลการกำกับติดตาม ประกาศมาตรการการป้องกันการรับสินบนทุกรูปแบบ Download
3. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 14 หน่วยงานมีการกำหนดมาตรการและระบบในการป้องกันการรับสินบน ในกระบวนการเบิกจ่ายตามสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ
ไตรมาส 2 หรือ 3
1.มีบันทึกข้อความลงนามคำสั่ง หรือประกาศ เรื่อง แนวทางปฏิบัติ ฯ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา และการส่งเสริมการขายยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา ของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2564 และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2.มีคำสั่ง หรือประกาศเรื่อง แนวทางปฏิบัติ ฯ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา และการส่งเสริมการขายยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา ของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2564 ที่มีการกำหนดกลไกการกำกับติดตาม ตามที่หน่วยงานกำหนด Download
3. หลักฐานหนังสือแจ้งเวียน Download
4. ประกาศเจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร Download
5. ภาพกิจกรรม ที่ระบุวัน เวลา สถานที่จัดกิจกรรมที่ชัดเจน Download
6. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
ไตรมาส 4
1 บันทึกข้อความรับทราบ และรายงานสรุปผลการกำกับติดตาม ประกาศเรื่อง แนวทางปฏิบัติ ฯตามที่หน่วยงานกำหนด Download
2 มีรายงานสรุปผลการกำกับติดตาม แนวทางปฏิบัติ ฯตามที่หน่วยงานกำหนด Download
3 แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 15 หน่วยงานมีการจัดทำแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ทรัพย์สินของทางราชที่ถูกต้อง ขั้นตอนการขออนุญาตเพื่อยืมทรัพย์สินของราชการไปใช้ปฏิบัติในหน่วยงาน
1. บันทึกข้อความลงนามข้อสั่งการอย่างเป็นทางการ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการยืมพัสดุประเภทใช้คงรูป ระหว่างหน่วยงานของรัฐ ยืมใช้ภายในสถานที่ของหน่วยงานของรัฐเดียวกัน และการยืมไปใช้นอกสถานที่ของหน่วยงานของรัฐ ที่มีผังกระบวนการยืมพัสดุประเภทคงรูปของเจ้าหน้าที่รัฐของหน่วยงาน และแบบฟอร์มการยืมพัสดุประเภทใช้คงรูป ที่มีกลไกการกำกับติดตาม Download
3. มีแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการยืมพัสดุประเภทใช้สิ้นเปลือง ระหว่างหน่วยงานของรัฐที่มีผังกระบวนการยืมพัสดุประเภทใช้สิ้นเปลืองของเจ้าหน้าที่รัฐของหน่วยงาน และแบบฟอร์มการยืมพัสดุประเภทใช้สิ้นเปลือง ที่มีกลไกการ กำกับติดตาม Download
4. หนังสือแจ้งเวียนแนวปฏิบัติตามข้อ 2. และข้อ 3. Download
5. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 16 หน่วยงานมีแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ และแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรม ประจำปีของหน่วยงาน
1.แผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ของหน่วยงาน ประจำปีของหน่วยงาน
1. มีบันทึกข้อความเสนอผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน เพื่อขอความเห็นชอบอนุมัติและลงนามในแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามทุจริตและประพฤติมิชอบของหน่วยงาน ประจำปี และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. มีแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ของหน่วยงาน ประจำปี Download
3.แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2.แผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรม ของหน่วยงาน ประจำปีของหน่วยงาน
1. มีบันทึกข้อความเสนอผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน เพื่อขอความเห็นชอบอนุมัติและลงนามในแผนปฏิบัติการการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรมของหน่วยงาน ประจำปี และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download Download
2. มีแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรมของหน่วยงาน ประจำปี Download
3. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 17 หน่วยงานมีรายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปีของหน่วยงาน และแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรม ประจำปีของหน่วยงาน Download
ไตรมาส 2
1. การกำกับติดตามการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
1. มีบันทึกข้อความเสนอผู้บริหารเพื่อทราบ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. รายงานผลการกำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รอบ 6 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 ตค.64 - 30 มี.ค.65 Download
3. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. การกำกับติดตามการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรมของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
1. มีบันทึกข้อความเสนอผู้บริหารเพื่อทราบ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. รายงานผลการกำกับติดตามการดำเนินการตามข้อกำหนดของคู่มือการขับเคลื่อนชมรมจริยธรรมของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รอบ 6 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 ตค.64 - 16 มี.ค.65ตามแบบฟอร์มการรายงานและการติดตามประเมินผล ฯ(แบบฟอร์มที่ 2 และแบบฟอร์มที่ 3) และจัดส่งตามปฏิทินที่กำหนดในคู่มือ ฯ ทุกประการDownload
3. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
ไตรมาส 4
1. การกำกับติดตามการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
1 มีบันทึกข้อความเสนอผู้บริหารเพื่อทราบ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2 รายงานผลการกำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565รอบ 12 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 เมย.65 - 30 ส.ค.65 Download
3 แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. การกำกับติดตามการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรมของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
1 มีบันทึกข้อความเสนอผู้บริหารเพื่อทราบ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2 รายงานผลการกำกับติดตามการดำเนินการตามข้อกำหนดของคู่มือการขับเคลื่อนชมรมจริยธรรมของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รอบ 12 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 เมย.65 - 30 ส.ค.65
ตามแบบฟอร์มการรายงานและการติดตามประเมินผล ฯ (แบบฟอร์มที่ 2 และแบบฟอร์มที่ 3) และจัดส่งตามปฏิทินที่กำหนดในคู่มือ ฯ ทุกประการ Download
3 แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 18 หน่วยงานมีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน
1. หนังสือแสดงหลักฐานการจัดการประชุมเพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน ประจำปีงบ 2565 Download
2. สรุปผลการประชุมเพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน ประจำปีงบ 2565 Download
3. รายงานการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน และแนบแบบรายงานประเมินความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน (ที่จัดทำเป็นรูปเล่มรายงาน) Download
4. หนังสือเสนอผู้บริหารเพื่อทราบ และสั่งการ ปรากฏการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
5. แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 19 หน่วยงานมีการกำหนดมาตรการเพื่อจัดการความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน และมีการรวมกลุ่มในนามชมรม STRONG
มาตรการเพื่อจัดการความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน
1. มีบันทึกข้อความลงนามคำสั่ง / ข้อสั่งการ / ประกาศ และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2. มีแนวการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน เพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน ที่มีความสอดคล้องตามบทวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน ที่ได้จากข้อ 18 Download
3. หลักฐานหนังสือแจ้งเวียน Download
4. บันทึกข้อความรับทราบการกำกับติดตาม และรายงานผลการดำเนินงานตามแนวการปฏิบัติเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน อย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน Download
5.แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
การรวมกลุ่มในนามชมรม STRONG
1 มีแนวทางการดำเนินกิจกรรมของชมรม Download
2 มีรายชื่อสมาชิกของชมรม Download
3 มีกิจกรรมการดำเนินงานของชมรม Download
4 แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 20 หน่วยงานมีการรายงานผลการส่งเสริมการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน -กรณีการเรี่ยไร และกรณีการให้หรือรับของขวัญหรือประโยชน์อื่นใด ประจำปีงบ 2565
1 มีบันทึกข้อความรับทราบรายงานการเรี่ยไร การให้และการรับของขวัญหรือประโยชน์อื่นใด และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2 มีรายงานการเรี่ยไร การให้และการรับของขวัญหรือประโยชน์อื่นใด (จากระบบ MSRS)
รอบ 6 เดือน ภายใน 15 มีค.65 Download
รอบ 12 เดือน ภายใน 31 สค.65 Download
3 แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 21 หน่วยงานมีการอบรมให้ความรู้ภายในหน่วยงาน เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน โดยใช้หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา
1. มีหลักฐานการอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน โดยใช้หลักสูตรต้านทุจริตศึกษาแก่บุคลากรในหน่วยงาน และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน
1.1 บันทึกข้อความขออนุมัติดำเนินโครงการ Download
1.2 โครงการ Download
2. รายชื่อผู้เข้าร่วมการอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน โดยใช้หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา แก่บุคลากรในหน่วยงาน Download
3. บันทึกข้อความเสนอผู้บริหารเพื่อรับทราบ รายงานการอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน โดยใช้หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา แก่บุคลากรในหน่วยงาน และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
4. มีรายงานการอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน โดยใช้หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา แก่บุคลากรในหน่วยงาน Download
5. ภาพกิจกรรมที่ระบุวัน เวลา สถานที่จัดกิจกรรม Download
แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 22 หน่วยงานมีการเผยแพร่เจตจำนงสุจริตของผู้บริหารต่อสาธารณชน
1 บันทึกข้อความลงนามประกาศเจตจำนงสุจริตของผู้บริหารสูงสุด และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2 ประกาศเจตจำนงสุจริตของผู้บริหารสูงสุด (เนื้อหา 2 ประเด็น) Download
3 มีกิจกรรมประกาศเจตจำนงสุจริตของผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน ต่อสาธารณชน ดำเนินการตั้งแต่ไตรมาส 1 – 2 ( ตั้งแต่เดือน ตค.64 – 30 มีค.65 ) Download
4. ภาพกิจกรรม ที่มีการระบุวัน เวลา สถานที่จัดโครงการ / กิจกรรม Download
5 แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
MOIT 23 หน่วยงานมีนโยบายและแนวปฏิบัติที่เคารพสิทธิมนุษยชนและศักดิ์ศรีของผู้ปฏิบัติงาน มาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิด หรือคุกคามทางเพศในการทำงาน
ไตรมาส 2
1. มีบันทึกข้อความลงนามประกาศเจตนารมณ์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิด หรือคุกคามทางเพศในการทำงาน ดำเนินการให้เสร็จสิ้นในไตรมาสที่ 1-2 (ระยะเวลาเดือนตุลาคม 2564 - มีนาคม 2565) Download
2. ประกาศเจตนารมณ์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในการทำงาน Download
3. คู่มือแนวปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในการทำงานของหน่วยงาน Download
4. บันทึกข้อความแจ้งเวียนประกาศเจตนารมณ์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในการทำงาน และคู่มือแนวปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในการทำงานของหน่วยงาน Download
แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
ไตรมาส 4
1.มีบันทึกข้อความรับทราบ รายงานการกำกับติดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในการทำงานของหน่วยงาน
ตามแบบรายงานที่กำหนดดำเนินการให้เสร็จสิ้นในไตรมาสที่ 4 และมีการขออนุญาตนำเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download
2.Print Screen หน้าจอผ่านระบบ MSRS Download
3.แบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน Download